Page 21 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและลดอัตราปุ๋ยเคมีต่อการเพิ่มผลผลิตของปาล์มนํ้ามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       17


                                                 ผลการทดลองและวิจารณ์
                                           การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน

                         จากตารางที่  1  จะเห็นได้ว่า  สมบัติทางเคมีของดินที่ระดับความลึก 0-30 เซนติเมตร พบว่า ค่า
               ความเป็นกรด-ด่างของดิน (pH)  ของดินก่อนการทดลองเท่ากับ 3.40 หลังการทดลองค่าความเป็นกรด-ด่าง
               ของดิน (pH)  ของดินมีค่าเพิ่มสูงขึ้นในต้ารับที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์เมื่อเปรียบเทียบกับต้ารับที่ไม่มีการใส่ปุ๋ย
               อินทรีย์ ซึ่งต้ารับที่ 6 (T ) ใส่ 30 % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัม
                                    6
               ต่อต้น มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน (pH) ของดินมีค่าเพิ่มสูงขึ้นเท่ากับ 4.03
                         ความต้องการปูนของดินก่อนการทดลองเท่ากับ  2,120  กิโลกรัมต่อไร่ หลังการทดลองความ
               ต้องการปูนของดินในต้ารับต้ารับที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์จะมีปริมาณลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับต้ารับที่ไม่มีการใส่
               ปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งต้ารับที่ 6  (T ) ใส่ 30 % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15
                                         6
               กิโลกรัมต่อต้น มีความต้องการปูนน้อยที่สุด เท่ากับ 1,320 กิโลกรัมต่อไร่
                         ปริมาณอินทรียวัตถุของดินก่อนการทดลองเท่ากับ 21.18 เปอร์เซ็นต์ หลังการทดลองปริมาณ
               อินทรียวัตถุของดินลดลงทุกต้ารับ ยกเว้นต้ารับที่ 6 (T ) ใส่ 30 % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ
                                                            6
               พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น และต้ารับที่ 9 (T ) ที่มีปริมาณอินทรียวัตถุของดินเพิ่มขึ้นเท่ากับ 2.79
                                                            9
               และ 2.31 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ
                         ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดของดินก่อนการทดลองเท่ากับ 0.11 เปอร์เซ็นต์ หลังการทดลอง
               ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดของดินเพิ่มลดลงทุกต้ารับ ยกเว้นต้ารับที่ 6 (T ) ใส่ 30 % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้า
                                                                          6
               ร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น และต้ารับที่ 9 (T ) ใส่ 40 % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้า
                                                                          9
               ร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้นที่มีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดของดินเพิ่มขึ้นเท่ากับ 0.14
               และ 0.12 เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ
                         ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ก่อนการทดลองเท่ากับ
               1.67  และ 71.67 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล้าดับ หลังการทดลองปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และ

               ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นทุกต้ารับ ซึ่งต้ารับที่ 2  (T ) วิธีเกษตรกร  มีปริมาณ
                                                                                    2
               ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์เพิ่มขึ้นมากที่สุดเท่ากับ 53.33  และ
               207.67 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล้าดับ

                         ปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมก่อนการทดลองเท่ากับ 0.32 และ 0.37 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
               ตามล้าดับ หลังการทดลองปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นทุกต้ารับ ซึ่งต้ารับที่ 1  (T )
                                                                                                        1
               แปลงควบคุม จะมีปริมาณปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมเพิ่มขึ้นมากที่สุดเท่ากับ 2.33 และ 1.36
               มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล้าดับ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26