Page 20 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและลดอัตราปุ๋ยเคมีต่อการเพิ่มผลผลิตของปาล์มนํ้ามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       16


                     5. เก็บตัวอย่างดินก่อนและหลังการทดลองที่ระดับ 0-30 เซนติเมตร เพื่อวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของ
               ดิน ดังนี้ปริมาณอินทรียวัตถุ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม  แมกนีเซียม ก้ามะถัน ค่าความ

               เป็นกรดเป็นด่าง ค่าการน้าไฟฟ้าของสารละลายดิน และความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก
                     6. ดูแลรักษาตามความจ้าเป็น

               การเก็บข้อมูล

                     เก็บข้อมูลดิน ข้อมูลพืช วิเคราะห์สมบัติของดินก่อนและหลังของการทดลอง
                        1.  วิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดินที่ระดับความลึก 0-30 เซนติเมตร ประกอบด้วย ปริมาณ
               อินทรียวัตถุ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม ค่า pH และความต้องการปูน
                        2.  เก็บตัวอย่างใบปีละครั้งหลังจากใส่ปุ๋ยแล้วไม่น้อยกว่า 3 เดือนโดยเลือกช่วงเวลาที่เหมาะสมไม่

               ควรท้าในฤดูฝนหรือฤดูแล้ง เก็บตัวอย่างจากทางใบที่ 17 บริเวณกลางใบทั้ง 2 ข้างๆละ 6 ใบ ตัดส่วนปลาย
               ใบและโคนใบทิ้ง ลอกเส้นกลางใบออก ท้าความสะอาดโดยการเช็ดใบ ส่งวิเคราะห์ค่าไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
               โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียม ทุกต้ารับการทดลอง
                        3. บันทึกข้อมูลผลผลิตปาล์มน้้ามัน ประกอบด้วยขนาดและน้้าหนักของทะลาย


               สถิติที่ใช้ในการวิจัย
                     โดยใช้ Analysis of variance (ANOVA) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี Least significant difference

               test (LSD)  และใช้โปรแกรมส้าเร็จรูป SPSS
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25