Page 28 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวปทุมธานี 1 ในดินเหนียว จ.สุพรรณบุรี Study efficiency of biofertilizer for rice cultivation on growth and rice yield in clayer soil in Suphanburi province.
P. 28
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ต ารับทดลองที่ 6 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผง มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ
กับต ารับทดลองที่ใส่ปุ๋ยเคมี (ต ารับทดลองที่ 2) ดังตารางที่ 9
1.2.2 จ านวนต้นต่อกอ
จากการทดลองพบว่า ทุกต ารับทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ โดยมีจ านวนต้น
ต่อกออยู่ในช่วง 9.67 – 13.00 ต้น โดยมีแนวโน้มว่าต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าว
รูปแบบน้ าทุกต ารับทดลอง (ต ารับทดลองที่ 3-5) มีจ านวนต้นต่อกอสูงกว่าต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ย
ชีวภาพรูปแบบผง (ต ารับทดลองที่ 6-8) และพบว่าเมื่อใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ าและ
รูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 5 และ 7) มีแนวโน้มจ านวนต้นต่อกอสูงกว่าต ารับ
ปุ๋ยเคมี ซึ่งจ านวนต้นต่อกอ คือ 13.00 และ 12.67 ต้น ตามล าดับ โดยต ารับทดลองที่ใส่ปุ๋ยเคมีมีจ านวนต้น
ตอกอ คือ 11.67 ต้น ดังตารางที่ 9
1.3 การเจริญเติบโตของข้าว ปีที่ 3
1.3.1 ความสูงระยะเก็บเกี่ยว
การเจริญเติบโตด้านความสูง จากการทดลองพบว่า ต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ย
ชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 5) มีการเจริญด้านความสูงสูง
ที่สุด รองลงมาคือต ารับทดลองที่ 8 ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบผงร่วมกับปุ๋ยเคมี 70%
ความสูงคือ 91.53 และ 90.63 เซนติเมตร ตามล าดับ ซึ่งมีความแตกต่างจากต ารับควบคุม (ต ารับทดลองที่ 1)
อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งมีความสูง 83.63 เซนติเมตร ดังตารางที่ 10
1.3.2 จ านวนต้นต่อกอ
จากการทดลองพบว่า ทุกต ารับทดลองไม่มีความแตกต่างทางสถิติ โดยมีจ านวนต้นต่อ
กออยู่ในช่วง 10.00 – 11.33 ต้น โดยมีแนวโน้มว่าต ารับทดลองที่ใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าว
รูปแบบน้ าร่วมกับปุ๋ยเคมี 70 เปอร์เซ็นต์ (ต ารับทดลองที่ 5) มีแนวโน้มจ านวนต้นต่อกอสูงสุด คือ 11.33 ต้น
ดังตารางที่ 10