Page 16 - ผลการปรับปรุงดินด้วยถ่านชีวภาพต่อปริมาณความชื้นและการแทรกซึมน้ำในดินปลูกมันสำปะหลัง Effect of Biochar for Soil Amendment on Moisture Content and Water Infiltration for Planting Cassava
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           10




                                                       อุปกรณ์และวิธีการ
                    อุปกรณ์

                       1.  ต้นมันสำปะหลังพันธุ์ ระยอง 72 และระยอง 81
                       2.  ถ่านชีวภาพไม้ประดู่ (Biochar)

                       3.  อุปกรณ์วิทยาศาสตร์
                           1.1 บีกเกอร์ (Beaker)

                           1.2 กระจกปิด (Cover glass)
                           1.3 กระบอกตวง (Cylinder)

                           1.4 แท่งแก้ว (Stirring rod)
                       4.  เครื่องมือวิทยาศาสตร์
                           2.1 เครื่องวัดการแทรกซึมของน้ำผ่านผิวดินแบบถังคู่ (Double-ring infiltrometer)
                           2.2 เครื่องวัดความชื้น (Profile Probe)

                           2.3 เตาปรับอุณหภูมิ (Hot plate)
                           2.4 ตู้อบ (Oven)
                       5.  สารเคมี
                           3.1 สารละลาย Calgon

                           3.2 ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
                           3.2 สารละลายโซเดียมซิเตรต

                    วิธีการ
                       1.  แผนการทดลอง

                           วางแผนการทดลองแบบ Factorial in Randomize Complete Block Design โดยศึกษา 2 ปัจจัย (เนื้อ
                    ดิน และวิธีการใส่ถ่านชีวภาพ) ทำการศึกษา 9 ตำรับการทดลองๆ ละ 4 ซ้ำ  ได้แก่

                    ตารางที่ 1 แสดงตำรับการทดลอง
                     ตำรับที่           เนื้อดิน                         วิธีการใส่ถ่านชีวภาพ

                       1              เนื้อดินหยาบ        ไม่ใส่ถ่านชีวภาพ (T1)
                       2                                  ใส่ถ่านชีวภาพทุกปี ปีละ 1,000 กิโลกรัมต่อไร่รวม 2 ปี (T2)
                       3                                  ใส่ถ่านชีวภาพเพียงครั้งเดียว 2,000 กิโลกรัมต่อไร่ (T3)

                       4            เนื้อดินปานกลาง       ไม่ใส่ถ่านชีวภาพ
                       5                                  ใส่ถ่านชีวภาพทุกปี ปีละ 1,000 กิโลกรัมต่อไร่รวม 2 ปี

                       6                                  ใส่ถ่านชีวภาพเพียงครั้งเดียว 2,000 กิโลกรัมต่อไร่
                       7             เนื้อดินละเอียด      ไม่ใส่ถ่านชีวภาพ

                       8                                  ใส่ถ่านชีวภาพทุกปี ปีละ 1,000 กิโลกรัมต่อไร่รวม 2 ปี
                       9                                  ใส่ถ่านชีวภาพเพียงครั้งเดียว 2,000 กิโลกรัมต่อไร่
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21