Page 19 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 19
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
9
ธาตุอาหารกับการตอบสนองของพืช อย่างไรก็ตาม การใช้วิธีดังกล่าวมีข้อจ้ากัด เนื่องจากหากต้องการข้อมูลที่
สามารถครอบคลุมพื นที่ในวงกว้าง และครบทุกชนิดธาตุ การศึกษาจ้าเป็นต้องใช้ระยะเวลานาน และมี
ค่าใช้จ่ายสูง ส่วนใหญ่จึงนิยมใช้วิธีส้ารวจเก็บตัวอย่างดิน และพืชจากแปลงเกษตรกร ทั งบริเวณที่ให้ผลผลิต
ต่้า และบริเวณที่ให้ผลผลิตสูง (สุมิตรา และวิเชียร, 2546; จ้าเป็น และคณะ, 2549; สมศักดิ์, 2551; ภรภัทร
และสมศักดิ์, 2559) จากนั นน้าข้อมูลมาหาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของธาตุอาหาร กับปริมาณ
ผลผลิต ทั งนี การใช้วิธีส้ารวจสถานะของธาตุอาหารในดิน และพืช ต้องค้านึงถึงขั นตอนและรายละเอียดต่าง ๆ
ตั งแต่วิธีการเก็บตัวอย่าง การเตรียมตัวอย่าง เทคนิคการวิเคราะห์ดินและพืชที่ใช้ ตลอดจนเทคนิคการ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูล ซึ่งถือเป็นขั นตอนที่ยุ่งยาก และใช้ระยะเวลานาน เพื่อให้ได้มาซึ่งค่า
มาตรฐานที่มีความถูกต้อง และแม่นย้า จากการรวบรวมเอกสาร พบว่า เทคนิคที่นิยมใช้จัดท้าค่ามาตรฐานพืช
จากการส้ารวจ มีอยู่ 3 วิธี คือ 1) การประเมินจากต้นที่ให้ผลผลิตสูง 2) การใช้วิธีเส้นขอบเขต (จ้าเป็น และ
คณะ, 2549) และ 3) การใช้สมการพหุนามก้าลังสอง (ภรภัทร และ สมศักดิ์, 2559)
3.1 การประเมินจากต้นที่ให้ผลผลิตสูง (high yield method)
การจัดท้าค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชจากต้นที่ให้ผลผลิตสูง อาศัยหลักการที่ว่าสถานะธาตุ
อาหารในดิน และพืชจากบริเวณที่ให้ผลผลิตดี คือสถานะความเข้มข้นของธาตุอาหารในช่วงที่เพียงพอต่อ
ความต้องการของพืช โดยจะวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารในดิน และพืชจากพื นที่ดังกล่าวในปริมาณที่มากพอ
จากนั นน้าความเข้มข้นธาตุอาหารจากต้นที่ให้ผลผลิตสูงไปประมาณช่วงความเข้มข้นที่ระดับความเชื่อมั่น 95
เปอร์เซ็นต์ ขึ นไป เพื่อประเมินปริมาณธาตุอาหารที่เพียงพอส้าหรับพืชชนิดนั น ๆ จากการก้าหนดช่วงความ
เข้มข้นมาตรฐานของธาตุอาหาร จากต้นที่ให้ผลผลิตสูงในลองกอง ทุเรียน และมังคุด พบว่า ให้ผลเป็นที่น่า
พอใจ สอดคล้องกับการใช้วิธีเส้นขอบเขต (ตารางที่ 1) อย่างไรก็ตาม การใช้เทคนิคนี อาจรวมธาตุอาหารใน
ส่วนที่บริโภคฟุ่มเฟือยเอาไว้ด้วย เนื่องจากบริเวณพื นที่ให้ผลผลิตสูงส่วนใหญ่มักมีการใส่ปุ๋ยในปริมาณมาก
จนเกินความต้องการของพืช ค่ามาตรฐานที่ได้จึงอาจสูงกว่าความเป็นจริง (สุมิตรา และคณะ, 2547)
ตารางที่ 1 ค่ามาตรฐานความเข้มข้นธาตุอาหารในใบพืชบางชนิดโดยประเมินจากต้นที่ให้ผลผลิตสูง
ธาตุอาหารในระดับที่เพียงพอ (g/kg) 1/ ลองกอง 2/ ทุเรียน 3/ มังคุด
N 22.95-25.37 20.00-23.00 11.00-14.00
P 1.83-2.07 1.50-2.50 0.50-0.80
K 18.67-20.85 17.00-25.00 0.60-11.00
Ca 10.93-13.93 15.00-25.00 11.00-14.00
Mg 2.67-3.37 3.50-6.00 12.00-18.00
1/
ที่มา: จ้าเป็น และคณะ (2549)
2/ สุมิตรา และคณะ (2544)
3/ สุมิตรา และคณะ (2547)