Page 24 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          14


                          การใช้สมการพหุนามก้าลังสองเพียงอย่างเดียวจึงไม่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ แต่เมื่อน้าเทคนิควิธี
                   เส้นขอบเขตมาใช้ร่วมกับสมการพหุนามก้าลังสอง สามารถก้าหนดค่ามาตรฐานของธาตุอาหารได้ ซึ่งพบว่า

                   ความเข้มข้นของไนโตรเจนในใบยางพาราที่ให้ผลผลิตน ้ายางสูงสุดมีความเข้มข้นประมาณ 3.3 เปอร์เซ็นต์

                   (Banneheka et al., 2013) นอกจากนี  ยังมีรายงานการใช้วิธีดังกล่าวกับพืชชนิดอื่น เช่น กระบองเพชร
                   (Blanco-Macias et al., 2009) มะม่วงหิมพานต์ (Widiatmaka et al., 2014) เมล่อน (Maia et al., 2016)

                   และ บลูเบอร์รี่ (Lafond, 2009) แต่เหนือสิ่งอื่นใดการจัดท้าค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชจะยึดติดกับวิธีใดวิธี
                   หนึ่งเพียงอย่างเดียวไม่ได้ ทั งนี ควรพิจารณาจากลักษณะการกระจายข้อมูล และเลือกวิธีที่เหมาะสมกับข้อมูล

                   ชุดนั น ๆ จากการจัดท้าค่ามาตรฐานของสมบัติดินส้าหรับปลูกมะม่วงหิมพานต์ พบว่า การก้าหนดปริมาณ

                   อนุภาคดินเหนียวที่เหมาะสม ใช้วิธีเส้นขอบเขตร่วมกับสมการพหุนามก้าลังสอง ในขณะที่การก้าหนดระดับพี
                   เอชที่เหมาะสม ใช้วิธีเส้นขอบเขตที่มีเส้นแนวโน้มสองเส้นตัดกันในลักษณะของรูปสามเหลี่ยม ซึ่งทั งหมดเลือก

                   วิธีประมวลผลจากรูปแบบการกระจายของข้อมูล (Widiatmaka et al., 2014)

                          การรวบรวมเอกสารในครั งนี ยังพบว่าพืชแต่ละชนิดมีความต้องการธาตุอาหารแตกต่างกัน จากการ
                   จัดท้าค่ามาตรฐานส้าหรับการวิเคราะห์ดินและพืชในส้มโอ พบว่า ค่าแนะน้าการวิเคราะห์ดินส้าหรับส้มโอ

                   ใกล้เคียงกับค่าแนะน้าส้าหรับพืชทั่วไป ในขณะที่ค่าแนะน้าส้าหรับการวิเคราะห์ใบมีความจ้าเพาะต่อส้มโอ
                   มากกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับพืชตระกูลส้มชนิดอื่น พบว่า ส้มโอต้องการฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมสูงกว่า

                   แต่ต้องการ แคลเซียม และแมกนีเซียมใกล้เคียงกัน (สมศักดิ์, 2551) ส่วนในยางพาราระยะก่อนเปิดกรีด

                   พบว่าดินที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของยางพาราควรมีปริมาณอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
                   และโพแทสเซียมที่สกัดได้ อยู่ในช่วง 10-26 ก/กก., 10-20 และ 40-80 มก./กก. ตามล้าดับ ส่วนในใบควรมี

                   ความเข้มข้นของปริมาณ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในช่วง 30-38, 2.5-3.0 และ 10-14 ก/กก.
                   ตามล้าดับ (ภรภัทร และสมศักดิ์, 2559) การศึกษาค่ามาตรฐานในใบมะม่วง พบว่า ปริมาณไนโตรเจน

                   ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 12.2-17.2, 2.3-6.4 และ 6.2-11.4 ก/กก. ตามล้าดับ

                   ชี ให้เห็นว่า กรณีของมะม่วงมีค่าไนโตรเจนแนะน้าต่้ากว่าในยางพาราอย่างเด่นชัด (อัศจรรย์, 2545) ส่วนในใบ
                   ส้มมีรายงานปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 24-26, 1.2-1.6 และ 8-11

                   ก/กก. ตามล้าดับ ซึ่งมีค่าไนโตรเจน และฟอสฟอรัสแนะน้าต่้ากว่าค้าแนะน้าในมะม่วงอย่างชัดเจน (นันทรัตน์,

                   2544 อ้างโดย จ้าเป็น และคณะ, 2549) จากกรณีศึกษาในข้างต้นแสดงให้เห็นว่าพืชแต่ละชนิดมีความ
                   ต้องการปริมาณธาตุอาหารแตกต่างกัน จึงจ้าเป็นต้องจัดท้าค่ามาตรฐานธาตุอาหารของพืชแต่ละชนิดแบบ

                   เฉพาะเจาะจง เช่นเดียวกับกรณีของชาน ้ามัน ซึ่งเป็นพืชน ้ามันชนิดใหม่ ที่มีประโยชน์หลากหลายเป็นที่

                   ต้องการของตลาด แต่ยังไม่มีรายงานค่ามาตรฐานของระดับธาตุอาหารส้าหรับให้ค้าแนะน้าปุ๋ยแก่เกษตรกร
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29