Page 15 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 15
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
5
2.1 ทฤษฎีถังไม้โอ๊ค (law of the minimum)
ทฤษฎีนี เสนอโดย Justus von Liebing นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน เขาได้น้าเสนอ
หลักการที่ว่าผลผลิตของพืชไม่ขึ นอยู่กับความเข้มข้นทั งหมดของธาตุอาหาร แต่ขึ นอยู่กับธาตุอาหารที่พืชขาด
แคลนมากที่สุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การเจริญเติบโตหรือการให้ผลผลิตของพืชจะถูกจ้ากัดโดยระดับธาตุ
อาหารที่พืชชนิดนั นขาดแคลนมากสุด (Hiddink and Kaiser, 2005) ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบระดับความสูงของซี่
ไม้ ที่ประกอบเป็นถังไม้โอ๊ค ความแตกต่างของระดับความสูงของซี่ไม้แต่ละซี่จะเปรียบเสมือนระดับของธาตุ
อาหารแต่ละธาตุที่ขาดแคลน และเมื่อบรรจุน ้าในถังดังกล่าว ระดับของน ้าจะถูกจ้ากัดอยู่ที่ระดับความสูงของ
ซี่ไม้ ซี่ที่มีความสูงต่้าสุด นั นคือระดับของน ้าในถัง จะเปรียบเสมือนการเจริญเติบโต หรือปริมาณผลผลิตพืช
ซึ่งจะถูกจ้ากัดโดยธาตุที่พืชชนิดนั นขาดแคลนมากที่สุด (ภาพที่ 2) หากต้องการเพิ่มการเจริญเติบโต และ
ผลผลิตพืชตามทฤษฎีนี จ้าเป็นต้องค้นหาว่าพืชขาดธาตุอาหารชนิดใด ซึ่งสามารถท้าได้โดยการวิเคราะห์ดิน
และพืช และน้าค่าที่ได้มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานของธาตุอาหารในระดับที่เพียงพอส้าหรับพืชชนิดนั น ๆ
แบบเฉพาะเจาะจง (สุมิตรา และวิเชียร, 2546; จ้าเป็น และคณะ, 2549; สมศักดิ์, 2551; ภรภัทร และ
สมศักดิ์, 2559)
ภาพที่ 2 แนวคิดการตอบสนองของพืชต่อระดับธาตุอาหารตามทฤษฎีถังไม้โอ๊ค ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผลผลิตพืช
จะถูกจ้ากัดโดยระดับธาตุอาหารที่พืชขาดแคลนสูงสุด จากตัวอย่างโพแทสเซียมเป็นธาตุที่จ้ากัดผลผลิต
ที่มา: https://www.sustainablesoils.com/how-much-does-this-method-cost/
2.2 ทฤษฎีการตอบสนองต่อธาตุอาหาร (low of diminishing returns)
ทฤษฎีนี ถูกน้าเสนอโดย E.A. Mitscherlich ในปี ค.ศ. 1909 หลักการของทฤษฎีนี คือ
พืชจะให้ผลผลิตเพิ่มขึ นอย่างมาก เมื่อมีการเพิ่มธาตุอาหารในช่วงที่พืชขาดแคลนธาตุอาหารชนิดนั นมาก
ในขณะที่ผลผลิตส่วนที่เพิ่มขึ น จะลดลงตามระดับที่พืชขาดแคลน กล่าวอีกนัยหนึ่งคือการเพิ่มปุ๋ยในอัตราสูง
เกินไป อาจส่งผลให้เกษตรกรได้รับผลตอบแทนน้อยลง เนื่องจากเมื่อถึงจุดหนึ่งตามทฤษฎีนี อัตราการเพิ่ม
ของผลผลิตจากการเพิ่มปริมาณปุ๋ยจะอยู่ในระดับต่้า ท้าให้ผลผลิตที่เพิ่มขึ น ไม่คุ้มกับรายจ่ายค่าปุ๋ยที่ใช้ไป
โดยเฉพาะในสภาวะที่ราคาผลผลิตตกต่้า แต่ปุ๋ยมีราคาแพง ซึ่งโดยหลักการสามารถอธิบายทฤษฎีนี ได้ด้วย
สมการทางคณิตศาสตร์ (สมการที่ 1) หรือ (สมการที่ 2) ตามล้าดับ (สมศักดิ์, 2552; Nievergelt, 2013)