Page 23 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          13


                   ตารางที่ 3 ค่ามาตรฐานธาตุอาหารหลักในดินปลูกข้าวจากการใช้สมการพหุนามก้าลังสองเป็นแบบจ้าลองทาง
                   คณิตศาสตร์

                      ธาตุอาหารหลัก                      ค่ามาตรฐานธาตุอาหารหลักในดินปลูกข้าว

                                            ขาดแคลน             ต่้า           เพียงพอ          สูงเกินไป
                      Total N (g/kg)         <0.53           0.53-1.02        1.02-1.84           >1.84

                     Avai. P (mg/kg)         <11.01         11.01-19.22      19.22-27.33         >27.33

                      Extr. K (mg/kg)        <32.64         32.64-76.88     76.88-120.80        >120.80
                   ที่มา: สุทธิ์เดชา และคณะ (2562)


                          อย่างไรก็ตาม จากสาเหตุที่ข้อมูลความเข้มข้นธาตุอาหารที่ได้จากการส้ารวจส่วนใหญ่มักไม่พบ

                   ความสัมพันธ์กับการตอบสนองของพืช เนื่องจากความแปรปรวนของสภาวะแวดล้อมอื่น ๆ ส่งผลให้ไม่

                   สามารถใช้สมการพหุนามก้าลังสองวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูลได้โดยตรง จึงจ้าเป็นต้องใช้วิธีเส้น
                   ขอบเขต แต่การใช้วิธีเส้นขอบเขตต้องลากเส้นแนวโน้มสองเส้น และสร้างสมการสองชุดส้าหรับใช้วิเคราะห์

                   ข้อมูล ซึ่งอาจท้าให้เสียเวลา เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว จึงมีการดัดแปลงวิธีเส้นขอบเขตมาใช้ร่วมกับสมการ

                   พหุนามก้าลังสอง โดยการลากเส้นขอบเขตรอบนอกสุดของการกระจายข้อมูลในลักษณะเส้นโค้งรูประฆังคว่้า
                   ที่เกิดจากการใช้สมการพหุนามก้าลังสองเพียงเส้นเดียว แทนการลากเส้นแนวโน้มสองเส้นแบบสามเหลี่ยม ท้า

                   ให้ช่วยลดความยุ่งยากในการประมวลผล จากการจัดท้าค่ามาตรฐานความเข้มข้นของไนโตรเจนในใบ

                   ยางพารา พบว่า ข้อมูลมีการกระจายตัวอย่างสุ่ม ไม่มีรูปแบบแน่นอน (ภาพที่ 7)

























                   ภาพที่ 7 การใช้สมการพหุนามก้าลังสองร่วมกับวิธีเส้นขอบเขตก้าหนดระดับไนโตรเจนที่เหมาะสมในใบ
                   ยางพารา

                   ที่มา: Banneheka และคณะ (2013)
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28