Page 17 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
7
ส้าหรับเกษตรกร อย่างไรก็ตาม การค้านวณความต้องการธาตุอาหารของพืชตามทฤษฎีนี ในทางปฏิบัติท้าได้
ยาก เนื่องจากค่าผลผลิตสูงสุด และค่าคงที่ของสมการ ประเมินได้ยาก และมีความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไป
ตามปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง (Harmsen, 2000) ดังนั น หากต้องการความแม่นย้า จ้าเป็นต้องใช้ข้อมูลจากการ
ทดลองในปริมาณมาก ส้าหรับน้ามาใช้สร้างความสัมพัทธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรของสมการ การ
ค้านวณระดับความเข้มข้นธาตุอาหารที่เหมาะสม ตามทฤษฎีของ Mitscherlich จึงใช้ได้ผลในกรณีที่ปัญหา
การขาดธาตุอาหารไม่ซับซ้อน อย่างกรณีการประเมินอัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสส้าหรับมันฝรั่งเพียงธาตุเดียว พบว่า
ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ (Nievergelt, 2013) ส่วนในบริเวณที่ปัจจัยทางสภาพแวดล้อมมีความแปรปรวนการน้า
สมการดังกล่าวไปใช้จ้าเป็นต้องมีการดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจากการ
ดัดแปลงสมการให้มีความเหมาะสมกับปริมาณน ้าฝนบริเวณพื นที่เขตเมดิเตอร์เรเนียน พบว่า สามารถน้ามาใช้
ค้านวณอัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสส้าหรับข้าวสาลีได้ (Harmsen et al., 2001) อย่างไรก็ตาม หากต้องจัดการธาตุ
อาหารหลายชนิดไปพร้อมกัน จ้าเป็นต้องใช้ข้อมูลจากการทดลองจ้านวนมาก ปัจจุบันจึงมีการใช้แบบจ้าลอง
สมดุลมวลมาใช้จัดการธาตุอาหารที่มีความซับซ้อน ซึ่งมีค่าใช้จ่าย และใช้ระยะเวลาน้อยกว่าการใช้สมการ
ดังกล่าว ประกอบกับงานวิจัยในระยะต่อมา พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของธาตุอาหารในดิน
เป็นไปได้ 4 แบบ คือ รูป U คว่้า, V คว่้า, S และ C (สมศักดิ์, 2552) ทุกรูปแบบผลผลิตของพืชจะลดลงเมื่อ
ความเข้มข้นของธาตุอาหารสูงเกินไป ซึ่งไม่เป็นไปตามสมการของ Mitscherlich แต่สมการนี ยังคงเป็น
รากฐานที่มีประโยชน์อย่างยิ่งส้าหรับการพัฒนาเทคนิคหลักการจัดการธาตุอาหารในปัจจุบัน
2.3 ทฤษฎีการจัดการธาตุอาหารแบบสมดุลมวล (mass balance model)
การใช้สมการแบบดั งเดิมมาประเมินความต้องการธาตุอาหารพืชนั นท้าได้ยาก เนื่องจาก
ปัญหาความไม่แน่นอนของค่าตัวแปรในสมการที่ใช้ ซึ่งเกิดจากความซับซ้อนของสภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
ท้าให้การจัดการธาตุอาหารขาดความแม่นย้า ประกอบกับการเกษตรเปลี่ยนรูปแบบการผลิตจากการเกษตร
ภาคครัวเรือน มาเป็นการเกษตรเชิงการค้าในภาคอุตสาหกรรม ผลผลิตทางการเกษตรจึงถูกเคลื่อนย้ายออก
จากพื นที่อย่างต่อเนื่อง เพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินจากการสูญเสียธาตุอาหารไปกับผลผลิต ในช่วง
ศตวรรษที่ 19 นักวิทยาศาสตร์ทางดิน จึงเริ่มเปลี่ยนวิธีการจัดการธาตุอาหารแบบดั งเดิม มาสู่วิธีการจัดการ
ธาตุอาหารแบบสมดุลมวลของสสาร หลักการของทฤษฎีนี จะประเมินความต้องการธาตุอาหารที่ต้องเพิ่มในดิน
จากปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียออกจากระบบ (Garcia-Ruiz et al., 2012) โดยประเมินจากสมดุลของธาตุ
อาหารที่ดินได้รับ (input) กับส่วนที่สูญเสียออกจากพื นที่ (output) ซึ่งสามารถอธิบายได้ด้วยสมการทาง
คณิตศาสตร์อย่างง่าย (สมการที่ 3) และ (สมการที่ 4) ตามล้าดับ
ธาตุอาหารระดับที่สมดุล = ธาตุอาหารที่ต้องเพิ่มในดิน - ธาตุอาหารที่สูญเสียจากพื นที่ …….….3
ธาตุอาหารที่ต้องเพิ่มในดิน = ธาตุอาหารระดับที่สมดุล + ธาตุอาหารที่สูญเสียจากพื นที่ …….….4
จากการสร้างแบบจ้าลองสมดุลมวลเพื่อใช้จัดการไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ส้าหรับต้น
มะกอก พบว่า ปริมาณธาตุอาหารที่ดินได้รับ หรือส่วนที่มีการเพิ่มเข้ามาในระบบ มาจากหลายส่วน ได้แก่