Page 21 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 21
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
11
ภาพที่ 5 การใช้วิธีเส้นขอบเขตก้าหนดระดับแคลเซียมที่เหมาะสมในต้นกระบองเพชร
ที่มา: Blanco-Macias และคณะ (2009)
การใช้วิธีเส้นขอบเขตสามารถจัดท้าค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชได้ละเอียดกว่าการประเมินจากต้นที่
ให้ผลผลิตสูง เนื่องจากสามารถบ่งชี ค่าความเข้มข้นธาตุอาหารได้ในระดับ ขาดแคลน ต่้า เพียงพอ และสูง
เกินไป ในขณะที่วิธีประเมินจากต้นที่ให้ผลผลิตสูงสามารถบอกปริมาณธาตุอาหารในระดับเพียงพอ และต่้า
หรือสูงกว่าค่าที่เพียงพอเท่านั น จากการเปรียบเทียบวิธีจัดท้าค่ามาตรฐานธาตุอาหารในใบลองกอง โดยวิธี
ประเมินจากต้นที่ให้ผลผลิตสูง และวิธีเส้นขอบเขต (ตารางที่ 2) พบว่า ทั งสองวิธีให้ผลสอดคล้องกัน แต่วิธี
เส้นขอบเขตสามารถก้าหนดช่วงค่ามาตรฐานได้ละเอียดกว่า (จ้าเป็น และคณะ, 2549) ในช่วงหลายปีที่ผ่าน
มาจึงนิยมน้าวิธีเส้นขอบเขตมาใช้จัดท้าค่ามาตรฐานธาตุอาหารในพืชหลายชนิด เช่น ทุเรียน
(สุมิตรา และคณะ, 2544) มังคุด (สุมิตรา และคณะ, 2547) และมะม่วงหิมพานต์ (Widiatmaka et al., 2014)
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบการจัดท้าค่ามาตรฐานธาตุอาหารในใบลองกองระหว่างวิธีประเมินจากต้นที่ให้ผลผลิต
สูง และการใช้วิธีเส้นขอบเขต
ธาตุอาหาร การประเมินจากต้นที่ให้ผลผลิตสูง การใช้วิธีเส้นขอบเขต
(g/kg) ต่้า เพียงพอ สูง ขาดแคลน ต่้า เพียงพอ สูงเกินไป
N <22.95 22.95-25.37 >25.37 <19.72 19.72-22.96 22.96-26.21 >26.21
P <1.83 1.83-2.07 >2.07 <1.53 1.53-1.70 1.70-1.87 >1.87
K <18.67 18.67-20.85 >20.85 <14.30 14.30-17.44 17.44-20.58 >20.58
Ca <10.93 10.93-13.93 >13.93 <8.21 8.21-10.37 10.37-12.53 >12.53
Mg <2.67 2.67-3.37 >3.37 <2.03 2.03-2.40 2.40-2.78 >2.78
ที่มา: จ้าเป็น และคณะ (2549)