Page 30 - ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการเผาไหม้ในพื้นที่เกษตรกรรม ต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน และการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ปลูกข้าวโพด บริเวณลุ่มน้ำแม่แจ่มตอนล่าง Climate Change and Hotspot Impact for Soil Fertility and Soil Erosion in Corn Acreage. Lower Part of Nam Mae Cham Basin Area.
P. 30
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
19
ตารางที่ 1 ปัจจัยเบื้องต้นที่ใช้ในการประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน
ปัจจัย ที่มา รายละเอียด
1. ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
(Organic Matter, %)
2. ปริมาณคาร์บอนในดิน
(Carbon, %) ผลการวิเคราะห์ดินจากจุดเก็บ
3. ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด การวิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่างดิน ผ่านการวิเคราะห์เชิง
พื้นที่โดยการ Interpolation
(Total Nitrogen, %)
ด้วยวิธี IDW (Inverse Distance
4. ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
Weighted)
(Available Phosphorus, mg/kg)
5. ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์
(Available Potassium, mg/kg)
การวิเคราะห์ข้อมูล
การประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินจะใช้ปัจจัยทางดินข้างต้นเป็นดัชนีชี้วัด โดยนำมาจำแนก
ออกเป็นระดับต่าง ๆ ตามเกณฑ์มาตรฐานแล้วให้ค่าคะแนน โดยถ้ามีเกณฑ์ระดับสูงมากให้ค่าคะแนนเป็น 5
ระดับสูงให้ค่าคะแนนเป็น 4 ระดับปานกลางให้ค่าคะแนนเป็น 3 ระดับต่ำให้ค่าคะแนนเป็น 2 และระดับต่ำ
มากให้ค่าคะแนนเป็น 1 ดังแสดงในตารางที่ 2
ตารางที่ 2 เกณฑ์การจำแนกปัจจัยในการประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินออกเป็นระดับต่าง ๆ
ระดับความอุดมสมบูรณ์
ปัจจัย
ต่ำมาก ต่ำ ปานกลาง สูง สูงมาก
1. ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน <0.5 0.5 – 1.5 1.5 – 2.5 2.5 – 3.5 > 3.5
(Organic Matter, %)
2. ปริมาณคาร์บอนในดิน < 0.58 0.58 – 0.87 0.87 – 1.45 1.45 – 2.03 > 2.03
(Carbon, %)
3. ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด < 0.1 0.1 – 0.3 0.3 – 0.6 0.6 – 1.0 > 1.0
(Total Nitrogen, %)
4. ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น < 3 3 – 10 10 – 15 15 – 25 > 25
ประโยชน์ (Available
Phosphorus, ppm)
5. ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น < 30 30 – 60 60 – 90 90 – 120 > 120
ประโยชน์ (Available
Potassium, ppm)