Page 21 - ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อความชื้นในดินและการเจริญเติบโตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์บนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่ The Impact of Climate Change on Soil Moisture and the Growth of Maize on Upland of Chiang Mai province.
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          11


                   ตารางที่ 4 สมบัติทางเคมีของดินก่อนการทดลอง

                                 สมบัติทางเคมีของดิน                                         ค่าวิเคราะห์
                                 pH                                                                6.18
                                 Lime requirement: LR (Kg/rai)                                      nd
                                 Organic matter: OM (%)                                            2.81

                                 Available phosphorus: P (mg/kg)                                 338.83
                                 Available potassium: K (mg/kg)                                  499.20
                                 Available calcium: Ca (mg/kg)                                 1,709.20
                                 Available magnesium: Mg (mg/kg)                                 230.80
                                 Electrical conductivity: EC (dS/m)                                0.09
                                 Carbon: C (%)                                                     1.76
                                 Nitrogen: N (%)                                                   0.14

                   หมายเหตุ nd = not determined = ตรวจไม่พบ


                   2. ผลวิเคราะห์ดินหลังการทดลอง
                          2.1 ผลวิเคราะห์ดินทางกายภาพ
                              2.1.1 ความหนาแน่นรวมของดิน

                                    ผลการทดลองในปีที่ 1 และ 2 พบว่าอิทธิพลของการคลุมดินไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยวิธีการ
                   ที่ไม่คลุมดินมีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นรวมของดินเท่ากับ 1.29 และ 1.49 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ตามล าดับ
                   ในขณะที่วิธีการคลุมดินมีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นรวมของดินเท่ากับ 1.28 และ 1.49 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
                   ตามล าดับ ขณะที่ผลการทดลองในปีที่ 3 พบว่าอิทธิพลของการคลุมดินมีผลท าให้ความหนาแน่นรวมของดิน มีความ
                   แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยวิธีไม่คลุมดินมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.08 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ส่วนวิธีการ
                   คลุมดินมีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นรวมของดินเท่ากับ 1.26 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
                                    ผลของอิทธิพลของการให้น้ าพบว่าไม่แตกต่างกันทางสถิติทั้งปีที่ 1 2 และ 3 โดยวิธีการที่ไม่ให้
                   น้ ามีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นรวมของดินเท่ากับ 1.31 1.51 และ 1.23 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ตามล าดับ ในขณะ
                   ที่วิธีการที่ให้น้ าทุกวันมีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นรวมของดินเท่ากับ 1.25 1.48 และ 1.22 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
                   ตามล าดับ ส่วนวิธีการที่ให้น้ าทุก 2 วัน มีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นรวมของดินเท่ากับ 1.32 1.47 และ 1.11 กรัมต่อ

                   ลูกบาศก์เซนติเมตร ตามล าดับ ส าหรับวิธีการที่ให้น้ าทุก 3 วัน มีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นรวมของดินเท่ากับ 1.27
                   1.48 และ 1.15 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ตามล าดับ และวิธีการที่ให้น้ าทุก 4 วัน มีค่าเฉลี่ยความหนาแน่นรวมของ
                   ดินเท่ากับ 1.25 1.51 และ 1.14 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ตามล าดับ
                                    จากผลการศึกษาความหนาแน่นรวมของดิน พบว่าการคลุมดินและการให้น้ า ไม่มีปฏิกิริยา
                   สัมพันธ์ต่อกัน ไม่มีผลท าให้มีความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อพิจารณาตารางที่ 5 จะเห็นว่าวิธีการไม่คลุมดินมีความ
                   หนาแน่นรวมของดินสูงกว่าวิธีการคลุมดิน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26