Page 15 - การทำนายผลผลิตข้าวและข้าวโพดเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รุนแรง บริเวณพื้นที่สูงลุ่มน้ำแม่แจ่ม Crop Yield Projection at Mae Cham Sub Basin under Extreme Climate Change.
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                            5

                   ขนส่งออกจากคลอโรพลาสต์ และถูกน าไปสลายที่ไมโตคอนเดรียและเพอร์ออกซิโซม (peroxisome)  ซึ่งจะ

                   ท าให้ได้ CO ออกมา และจะสามารถถูกน าไปใช้ในการสร้างน้ าตาลต่อไปได้ อย่างไรก็ตามการสร้างอาหารจะ
                             2
                   เกิดขึ้นน้อยลงกว่าปกติ ปฏิกิริยาการใช้ O  และปลดปล่อย CO ในขณะที่มีแสงนี้เรียกว่าการหายใจเชิงแสง
                                                      2
                                                                        2
                   (photorespiration)  เมื่อพืชมีการหายใจเชิงแสงเกิดขึ้นจะท าให้เกิดการสูญเสียสารอินทรีย์ในวัฏจักรคัลวิน

                   บางส่วนไปเนื่องจากได้ถูกน าไปใช้ในการตรึง O  จึงมีผลท าให้ประสิทธิภาพในการสังเคราะห์แสงลดลง
                                                            2
                   (อภิชาต, ม.ป.ป.)

                          สรุปได้ว่า การเพิ่มขึ้นของ CO  ในชั้นบรรยากาศ ส่งผลให้การสังเคราะห์แสงของพืช C3 ดีกว่าพืช C4
                                                  2
                   โดยพืช C3 จะสังเคราะห์แสงได้ดีในช่วงที่อากาศของโลกมีระดับความเข้มข้น CO  ต่ ากว่า 400 ppmV อย่างไร
                                                                                    2
                   ก็ตามในทางกลับกัน เมื่อระดับความเข้มข้น CO  เพิ่มเกินกว่า 400 ppmV พืช C4 จะสังเคราะห์แสงได้ดีกว่า C3
                                                         2
                   เพราะในวัฏจักรคัลวิน พืช C4 จะท าหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงเพิ่มขึ้นเมื่อ CO  มีระดับความเข้มข้นสูงกว่า
                                                                                     2
                   400 ppmV (Ghannoum et al., 2011) ดังภาพที่ 2



























                   ภาพที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และการสังเคราะห์แสงของพืช C3 และ C4

                          การเพิ่มขึ้นของ  CO  ในชั้นบรรยากาศ กล่าวถึงปริมาณในการเพิ่มขึ้นเป็นจ านวนเท่าไร การศึกษา
                                            2
                   การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกนั้นเป็นระบบใหญ่ จ าเป็นต้องมีการแตกย่อยระบบเพื่อท าการศึกษา
                   และระบบของพืชก็มีโมเดล (Model) ที่ใช้ในการท านายได้ แต่ปัญหาคือความน่าเชื่อถือของโมเดล อย่างไรก็ตาม

                   ยังไม่มีเครื่องมืออื่น ๆ ที่สามารถน ามาใช้พยากรณ์ได้อย่างถูกต้องที่สุด ท าให้นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ และ
                   นักคิดค้นต่าง ๆ พยายามที่จะค้นคิดวิธีการในประเมินให้ได้มีประสิทธิภาพที่สุด ท าให้มีข้อมูลใหม่ ๆออกมา

                   อย่างต่อเนื่อง ส าหรับพืชที่มีการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง สามารถท าการศึกษาในระดับแปลงทดลองได้

                   ไม่ง่ายนัก เนื่องจากเป็นการศึกษาในโรงเรือนทดลอง (Grow  chamber)  ซึ่งมีการควบคุมสภาพแวดล้อม
                   (Control environment) ส่วนพืชที่ท าการศึกษาส่วนใหญ่คือพืชในกลุ่ม C3 และ C4 ซึ่งเป็นกลุ่มพืชที่มีข้อดี

                   และข้อเด่นแตกต่างกัน ในพืช C4 จะมีประสิทธิภาพในการตรึง CO  ดีกว่าพืช C3 โดยหากน าพืชทั้งสองกลุ่ม
                                                                          2
                   นี้ไปอยู่ด้วยกันแล้วใช้ฝาครอบปิดไว้ ปล่อยให้อุณหภูมิลดลง พืช C3 จะตายก่อนพืช C4 แสดงว่าในพืช C4
                   น่าจะมีกลไกบางอย่างที่สามารถควบคุมปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ (Concentrated  CO )  ได้ดีกว่า ซึ่ง
                                                                                               2
                   เกี่ยวข้องกับการตรึง CO  ของเอนไซม์ Rubisco ที่จะสร้างน้ าตาล ดังนั้น หากน าความรู้นี้มาพัฒนาในพืช C3
                                       2
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20