Page 20 - การทำนายผลผลิตข้าวและข้าวโพดเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รุนแรง บริเวณพื้นที่สูงลุ่มน้ำแม่แจ่ม Crop Yield Projection at Mae Cham Sub Basin under Extreme Climate Change.
P. 20
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
2) Crops เป็นข้อมูลด้านลักษณะทางสรีรวิทยาของพืชแต่ละชนิด ซึ่งในโปรแกรมได้มีค่า
เริ่มต้นของพืชแต่ละชนิดไว้ให้สามารถเลือกใช้เป็นตัวแทน หรือสร้างข้อมูลใหม่โดยการป้อนข้อมูลต่าง ๆ เช่น
วันปลูก วันเก็บเกี่ยว การเจริญเติบโตของล าต้นและใบในการปกคลุมดิน การคายน้ าของพืช การผลิตชีวมวล
เป็นต้น เพื่อให้ลักษณะของพืชนี้ใกล้เคียงกับสภาพความเป็นจริง
3) Management ส าหรับการจัดการแบ่งออกเป็น การจัดการแปลงเพาะปลูก และการ
จัดการน้ าชลประทาน ซึ่งการจัดการแปลงเพาะปลูก ประกอบด้วย ความอุดมสมบูรณ์ของดิน การปกคลุมดิน
น้ าผิวดิน และการก าหนดระดับความสูงของคันนา ส่วนการจัดการน้ าชลประทาน สามารถเลือกได้ทั้ง ระบบ
เกษตรน้ าฝน และระบบเกษตรชลประทาน ส่วนระบบเกษตรชลประทาน สามารถเลือกวิธีการให้น้ า ได้ทั้ง
แบบผิวดิน สปริงเกลอร์ น้ าหยด และแบบให้น้ าทางใต้ผิวดิน นอกจากนี้ยังสามารถก าหนดปริมาณน้ า
ระยะเวลาการให้น้ า และคุณภาพของน้ าที่ให้
4) Soil ในส่วนของดินจะเป็นเรื่องของลักษณะกายภาพของดิน แบ่งออกเป็นสองส่วนคือ
หน้าตัดดิน และน้ าใต้ดิน ส าหรับหน้าติดดิน สามารถก าหนดเลือกลักษณะของชั้นดิน ลักษณะผิวดิน การ
ระเหยของน้ าในดิน การจ ากัดการขยายบริเวณส่วนของรากในชั้นดิน และการก าหนดจุดสูงสุดที่น้ าซึมขึ้นไป
ด้วยแรงคาปิลารีของดิน ซึ่งในส่วนของหน้าตัดดินนี้มีข้อมูลขั้นต้นให้เลือกใช้ โดยแบ่งออกตามลักษณะของ
เนื้อดินเป็น 14 ชนิด ส่วนในเรื่องของน้ าใต้ดินนั้นจะเป็นการก าหนดระดับน้ าใต้ดินและคุณภาพของน้ าใต้ดิน
ส่วนที่ 2 การจ าลองสถานการณ์ (Simulation) ประกอบด้วยส่วนส าคัญ 3 ส่วน คือ
1) ช่วงระยะเวลาการจ าลอง (Simulation period) เป็นการก าหนดช่วงเวลาที่ต้องการหรือ
สนใจศึกษา
2) ข้อมูลเริ่มต้น (Initial conditions) เป็นการก าหนดข้อมูลเริ่มต้นของน้ าในดิน ความเค็ม
ของดิน การเจริญเติบโตของพืชและผลผลิต
3) ข้อมูลจากภาคสนาม (Field data) โดยสามารถน าเข้าข้อมูลที่บันทึกจริงจากภาคสนาม
เพื่อการสอบเทียบแบบจ าลอง (วราวุธ, 2559)
7. การทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กัน (Paired Sample T-test)
ในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสองค่าว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ โดยค่าเฉลี่ยทั้งสองค่านี้วัดมาจาก
กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กัน โดยอาจจะวัดมาจากกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวกัน 2 ครั้ง หรือวัดมาจากกลุ่ม
ตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ได้มาจากการจับคู่คุณลักษณะที่เท่าเทียมกัน มีขั้นตอนการทดสอบความแตกต่างของ
ค่าเฉลี่ยดังนี้
1) ตั้งสมมติฐาน
- สมมติฐานหลัก H : µ = µ (ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างที่ 1 ไม่แตกต่างจากกลุ่มที่ 2)
0
1
2
- สมมติฐานรอง H : µ µ (ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างที่ 1 แตกต่างจากกลุ่มที่ 2)
1
2
1
2) ทดสอบด้วยโปรแกรม SPSS แบบ Paired Sample T-test
- คลิก Analyze => Compare means => Paired Sample T-test
- เลือกคู่ตัวแปรที่ต้องการทดสอบเข้าไปอยู่ใน Paired Variables แล้วคลิก OK ดังภาพที่ 7