Page 24 - ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพและผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ์ปอเทืองไทย Genetic Diversity, Biomass and Seed Yield of Thai Sunn Hemp (Crotalaria juncea L.) Germplasm
P. 24

ห
                                                                                     ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        11


                      2.3 สุมเก็บตัวอยางดินแปลงทดลองที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร กอนทําการทดลอง เพื่อวิเคราะห

               สมบัติทางเคมีบางประการ เชน ความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) วิธีการ ดิน : น้ํา 1 : 1 วัดดวย pH meter
               ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (%OM) วิธีการ Walkley and Black method ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
               (Available  P)  ใช  2  วิธี  คือ  Bray  II  และ  Double  acid  และปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได
               (Exchangeable K) วิธีการ ammonium acetate 1 N pH 7 อัตราสวน 1 ตอ 20 (สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการ
               พัฒนาที่ดิน, 2547)
                      2.4 ไถเตรียมดินครั้งแรก ตากดินไวประมาณ 7 วัน แลวไถพรวนและปรับดินใหสม่ําเสมอ

                      2.5 แบงแปลงยอยขนาด 4x5 เมตร จํานวน 54 แปลงยอย มีระยะหางระหวางแปลงยอย 1.0 เมตร
                      2.6 ปลูกปอเทืองแบบหยอดเปนหลุม ระยะระหวางแถว 100 เซนติเมตร ระยะระหวางหลุม 50 เซนติเมตร
               หยอดเมล็ดพันธุหลุมละ 3-5 เมล็ด เมื่ออายุ 2-3 สัปดาห ถอนแยกใหเหลือ 1 ตนตอหลุม กําจัดวัชพืช ใสปุยสูตร
               15-15-15 หรือ 12-24-12 อัตรา 20 กิโลกรัมตอไร โรยรอบโคนตน แลวจึงพูนโคนกลบปุย

                      2.7 บันทึกขอมูลปอเทือง
               ระยะ  2  และ  4  สัปดาหหลังปลูก    :  จํานวนใบ  จํานวนขอ  จํานวนปลอง  ความยาวปลอง  จํานวนกิ่ง  เสนผาน
               ศูนยกลางโคนตน ความกวางทรงพุม ความสูง (จํานวน 10 ตน โดยติดปายชื่อไว)
               ระยะออกดอก : จํานวนขอ จํานวนปลอง ความยาวปลอง จํานวนกิ่ง เสนผานศูนยกลางโคนตน ความกวางทรงพุม
               ความสูง จํานวนชอดอก ความยาวชอดอก จํานวนดอกตอชอ (จํานวน 10 ตน โดยติดปายชื่อไว) สุม 5 ตน ชั่ง
               น้ําหนักสดและน้ําหนักแหง (สวนเหนือดินทั้งหมด และแยกเปน ลําตน กิ่งกาน ใบ) และนําไปวิเคราะหปริมาณธาตุ

               อาหาร (N P และ K)
               ระยะเก็บเกี่ยว : จํานวนขอ จํานวนปลอง ความยาวปลอง จํานวนกิ่งเสนผานศูนยกลางโคนตน ความกวางทรงพุม
               ความสูง จํานวนฝกตอชอ ความยาวฝก ความกวางฝก จํานวนเมล็ดตอฝก (จํานวน 10 ตน โดยติดปายชื่อไว) สุม 5
               ตน ชั่งน้ําหนักสดและน้ําหนักแหง (สวนเหนือดินทั้งหมด และแยกเปน ลําตน กิ่งกาน ใบ ผลผลิตเมล็ด) และนําไป

               วิเคราะหปริมาณธาตุอาหาร (N P และ K)
               หลังเก็บเกี่ยว : จํานวนเมล็ดตอกิโลกรัม ความชื้นเมล็ด น้ําหนัก 1,000 เมล็ด
                      2.8  วิเคราะหขอมูลโดยใชวิธีทางสถิติ  (ANOVA:  Analysis  of  Variance)  และหาคาความแตกตางของ
               คาเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)
                      2.9 รายงานความกาวหนา ต-1ด และเขียนรายงานผลการวิจัยโครงการวิจัยยอยที่ 2


               โครงการวิจัยยอยที่ 3 ปงบประมาณ 2562
                      “ความสัมพันธของขนาดเมล็ดพันธุตอการเจริญเติบโต มวลชีวภาพ และผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุปอเทือง
               ไทย”  1. แผนการทดลอง: วางแผนการทดลองแบบ Split plot in RCB จํานวน 3 ซ้ํา ดําเนินการปลูกทดลองใน
               แปลงวิจัย

               Main plot คือ ขนาดเมล็ดพันธุปอเทือง (B) ประกอบดวย 2 กลุมขนาด (Miller, 1967)
               1.     กลุมขนาดที่ 1 (ขนาดใหญ: ยาว 6-7 มม. กวาง 4-4.75 มม. หนา 2-3 มม.)
               2.     กลุมขนาดที่ 2 (ขนาดปานกลาง: ยาว 3-5 มม. กวาง 2-4.75 มม. หนา 1.25-2.25 มม.)
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29