Page 23 - ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพและผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ์ปอเทืองไทย Genetic Diversity, Biomass and Seed Yield of Thai Sunn Hemp (Crotalaria juncea L.) Germplasm
P. 23

ห
                                                                                     ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        10


                      3.6    ประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในและระหวางประชากรของเชื้อพันธุปอเทืองไทย

               โดยใชดัชนีความหลากหลาย Shannon-Weaver Index (H') ในการพิจารณาความหลากหลายทางพันธุกรรมของ
               ลักษณะทางคุณภาพ (Power and McSorley, 2000 ; Coffey, 2002) คํานวณจากสูตร
                                                          S
                                                   H'     piln pi
                                                         i   1


               โดย    s      =      จํานวนชนิดที่พบ
               pi     =      สัดสวนของชนิดนั้นตอจํานวนทั้งหมด
               ลักษณะทางปริมาณพิจารณาโดยใชคาเฉลี่ย (mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (sd) คาสัมประสิทธความแปรปรวน
               (CV, %) และการวิเคราะหความแปรปรวน (ANOVA: Analysis of Variance) และหาคาความแตกตางของคาเฉลี่ย

               โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)
                      3.7   รายงานความกาวหนา ต-1ด และเขียนรายงานผลการวิจัยโครงการวิจัยยอยที่ 1

               โครงการวิจัยยอยที่ 2 ปงบประมาณ 2562
                      “ความสัมพันธของสีเมล็ดพันธุตอการเจริญเติบโต  มวลชีวภาพ  และผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุปอเทือง
               ไทย”

                      1. แผนการทดลอง: วางแผนการทดลองแบบ Split plot in RCB จํานวน 3 ซ้ํา ดําเนินการปลูกทดลองใน
               แปลงวิจัย
               Main plot คือ สีเมล็ดพันธุปอเทือง (B) ประกอบดวย 2 กลุมสี (Miller, 1967)
               1.     กลุมสีที่ 1 (สีเขม)

               2.     กลุมสีที่ 2 (สีออน)
               Sub plot คือ เชื้อพันธุปอเทือง (A) ประกอบดวย 6 สายพันธุ
               1.     สายพันธุที่ 1 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคเหนือ)
               2.     สายพันธุที่ 2 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
               3.     สายพันธุที่ 3 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคกลาง)
               4.     สายพันธุที่ 4 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันออก)

               5.     สายพันธุที่ 5 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันตก)
               6.     สายพันธุที่ 6 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคใต)

                      2. ขั้นตอนและวิธีการทดลอง

                      2.1 ประสานงานขอตัวอยางเมล็ดเชื้อพันธุปอเทืองกับเจาของเชื้อพันธุ จํานวน 6 สายพันธุ (accessions)
               ซึ่งเปนตัวแทน 6 ภูมิภาคของประเทศไทยที่คัดเลือกไวในโครงการวิจัยยอยที่ 1
                      2.2 เตรียมเมล็ดเชื้อพันธุ โดยแบงเปน 2 กลุมสี คือ กลุมสีที่ 1 (สีเทา) และกลุมสีที่ 2 (สีน้ําตาล)
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28