Page 21 - ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพและผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ์ปอเทืองไทย Genetic Diversity, Biomass and Seed Yield of Thai Sunn Hemp (Crotalaria juncea L.) Germplasm
P. 21

ห
                                                                                     ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                         8


                                                     อุปกรณและวิธีการ

                      โครงการวิจัยนี้ประกอบดวย 4 โครงการวิจัยยอย คือ โครงการวิจัยยอยที่
                      1 การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในและระหวางประชากรของเชื้อพันธุปอเทืองไทยดวย
               ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาดําเนินการในปงบประมาณ 2561-2562 โครงการวิจัยยอยที่
                      2 ความสัมพันธของสีเมล็ดพันธุตอการเจริญเติบโต มวลชีวภาพ และผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุปอเทือง
               ไทย ดําเนินการในปงบประมาณ 2562 โครงการวิจัยยอยที่
                      3 ความสัมพันธของขนาดเมล็ดพันธุตอการเจริญเติบโต มวลชีวภาพ และผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ

               ปอเทืองไทย ดําเนินการในปงบประมาณ 2562 และโครงการวิจัยยอยที่
                      4 ความสัมพันธของเนื้อดินตอการเจริญเติบโต มวลชีวภาพ และผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุปอเทืองไทย
               ดําเนินการในปงบประมาณ 2563


               โครงการวิจัยยอยที่ 1 ปงบประมาณ 2561-2562
               “การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในและระหวางประชากรของเชื้อพันธุปอเทืองไทยดวยลักษณะ
               ทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยา”
                      ขั้นตอนและวิธีการทดลอง
                      1. ประสานงานกับเจาหนาที่สถานีพัฒนาที่ดินและหมอดินอาสาประจําจังหวัด เพื่อคัดเลือกแหลงเชื้อพันธุ
               ปอเทือง  จํานวน  6  สายพันธุ  (accessions)  ที่เปนตัวแทน  6  ภูมิภาคของประเทศไทยที่แบงตามลักษณะทาง

               ภูมิศาสตร ลักษณะธรรมชาติ รวมไปถึงธรณีสัณฐาน ทางน้ํา และรูปแบบวัฒนธรรมมนุษย โดยสภาวิจัยแหงชาติ คือ
               ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต และลงพื้นที่เก็บตัวอยาง
               เมล็ดเชื้อพันธุพรอมบันทึกขอมูลที่มาของเมล็ดเชื้อพันธุที่เกษตรกรใช ประวัติการปลูก พิกัดแปลงปลูก สภาพพื้นที่
               ชุดดิน และขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

                      2. เตรียมเมล็ดเชื้อพันธุ โดยแบงตัวอยางเมล็ดเชื้อพันธุเปน 3 สวน ดังนี้
               สวนที่ 1 สุมเมล็ดเชื้อพันธุ สายพันธุละ 700 กรัม จํานวน 4 ซ้ํา นําสงศูนยวิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุพืชพิษณุโลก
               กรมวิชาการเกษตร เพื่อตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ โดยใชวิธีมาตรฐานตามหลักการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ
               ไดแก ความชื้น ความงอก ความแข็งแรง ความมีชีวิต และโรคที่ติดมากับเมล็ด (ณัฐหทัย, 2547)
               สวนที่ 2 สุมเมล็ดเชื้อพันธุ สายพันธุละ 100 เมล็ด จํานวน 4 ซ้ํา เพื่อนําไปประเมินลักษณะสีเปลือกเมล็ด (ใชแผน
               เทียบมาตรฐานสีของตัวอยางพืช : RHS Colour Chart) และขนาดเมล็ดโดยวัดความยาว ความกวาง ความหนา

               และชั่งน้ําหนักทีละเมล็ด และสายพันธุละ 1,000 เมล็ด จํานวน 4 ซ้ํา เพื่อชั่งน้ําหนัก
               สวนที่ 3 สุมเมล็ดเชื้อพันธุ เพื่อนําไปปลูกทดลองในแปลงวิจัย
                      3. ดําเนินการทดลองในแปลงวิจัย โดย
               วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block (RCB) จํานวน 4 ซ้ํา ประกอบดวย เชื้อพันธุปอเทือง

               จํานวน 6 สายพันธุ (accessions) ดําเนินการทดลองดังนี้
                      3.1    สุมเก็บตัวอยางดินแปลงทดลองที่ระดับความลึก  0-15  เซนติเมตร  กอนทําการทดลอง  เพื่อ
               วิเคราะหสมบัติทางเคมีบางประการ เชน ความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) วิธีการ ดิน : น้ํา 1 : 1 วัดดวย pH
               meter ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (%OM) วิธีการ Walkley and Black method ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เปน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26