Page 26 - ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพและผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ์ปอเทืองไทย Genetic Diversity, Biomass and Seed Yield of Thai Sunn Hemp (Crotalaria juncea L.) Germplasm
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                     ห




                                                                                                        13


                      2.8  วิเคราะหขอมูลโดยใชวิธีทางสถิติ  (ANOVA:  Analysis  of  Variance)  และหาคาความแตกตางของ

               คาเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)
                      2.9 รายงานความกาวหนา ต-1ด และเขียนรายงานผลการวิจัยโครงการวิจัยยอยที่ 3

               โครงการวิจัยยอยที่ 4 ปงบประมาณ 2563
                      “ความสัมพันธของเนื้อดินตอการเจริญเติบโต มวลชีวภาพ และผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุปอเทืองไทย”
                      1. แผนการทดลอง: วางแผนการทดลองแบบ Split plot in RCB จํานวน 3 ซ้ํา ดําเนินการปลูกทดลองใน

               กระถาง
               Main plot คือ เนื้อดิน (B) ประกอบดวย 3 เนื้อดิน (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา, 2548)
               1.     ดินเนื้อละเอียด
               2.     ดินเนื้อปานกลาง

               3.     ดินเนื้อหยาบ
               Sub plot คือ เชื้อพันธุปอเทือง (A) ประกอบดวย 6 สายพันธุ
               1.     สายพันธุที่ 1 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคเหนือ)
               2.     สายพันธุที่ 2 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
               3.     สายพันธุที่ 3 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคกลาง)
               4.     สายพันธุที่ 4 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันออก)

               5.     สายพันธุที่ 5 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันตก)
               6.     สายพันธุที่ 6 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคใต)
                      2. ขั้นตอนและวิธีการทดลอง
                      2.1 ประสานงานขอตัวอยางเมล็ดเชื้อพันธุปอเทืองกับเจาของเชื้อพันธุ จํานวน 6 สายพันธุ (accessions)

               ซึ่งเปนตัวแทน 6 ภูมิภาคของประเทศไทยที่คัดเลือกไวในโครงการวิจัยยอยที่ 1
                      2.2 เตรียมเมล็ดเชื้อพันธุเพื่อใชในการทดลอง โดยใชเมล็ดที่มีลักษณะเหมือนกัน เชน สี และขนาด
                      2.3 เตรียมกระถางทดลองขนาด 11 นิ้ว จํานวน 1,080 กระถาง
                    (6 สายพันธุ x 3 เนื้อดิน x 20 กระถาง x 3 ซ้ํา)
                      2.4 เตรียมดิน 3 เนื้อดิน คือ ดินเนื้อละเอียด ดินเนื้อปานกลาง และดินเนื้อหยาบ ใสกระถางขนาด 11 นิ้ว
               ตามตํารับทดลอง โดยใชหนาดินที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตรของชุดดินที่เปนตัวแทนของเนื้อดินดังกลาว สุม

               ตัวอยางดินเพื่อวิเคราะหสมบัติทางกายภาพคือ เนื้อดิน และสมบัติทางเคมีบางประการ เชน ความเปนกรดเปนดาง
               ของดิน (pH) วิธีการ ดิน : น้ํา 1 : 1 วัดดวย pH meter ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (%OM) วิธีการ Walkley and
               Black method ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available P) ใช 2 วิธี คือ Bray II และ Double acid
               และปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได  (Exchangeable  K)  วิธีการ  ammonium  acetate  1  N  pH  7

               อัตราสวน 1 ตอ 20 (สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547)
                      2.5 ปลูกปอเทืองแบบหยอดเปนหลุม หยอดเมล็ดพันธุหลุมละ 3-5 เมล็ด เมื่ออายุ 2-3 สัปดาห ถอนแยก
               ใหเหลือ 1 ตนตอหลุมตอกระถาง กําจัดวัชพืช ใสปุยสูตร 15-15-15 หรือ 12-24-12 อัตรา 20 กิโลกรัมตอไร
                      2.6 บันทึกขอมูลปอเทือง
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31