Page 28 - ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพและผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ์ปอเทืองไทย Genetic Diversity, Biomass and Seed Yield of Thai Sunn Hemp (Crotalaria juncea L.) Germplasm
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                     ห




                                                                                                        15


                                                  ผลการทดลองและวิจารณ

               โครงการวิจัยยอยที่ 1
                      “การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในและระหวางประชากรของเชื้อพันธุปอเทืองไทยดวย
               ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยา”
               ฤดูปลูกที่ 1

               สายพันธุและที่มาของเมล็ดปอเทือง และน้ําหนัก 100 เมล็ด

                      สายพันธุที่ทดสอบมีทั้งหมด 6 สายพันธุ โดยที่มาจะแยกตามภาคที่เก็บเมล็ด พบวาน้ําหนัก 100 เมล็ดมี
               ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญอยางยิ่ง  โดยสายพันธุที่1  และสายพันธุที่3  จะมีน้ําหนัก  100  เมล็ดมากที่สุด
               (ตารางที่ 1)


               ตารางที่ 1 สายพันธุ ที่มาของเมล็ดพันธุและน้ําหนัก 100 เมล็ด
                                                                          น้ําหนัก
                  สายพันธุ               ที่มาของเมล็ด               100 เมล็ด (กรัม)
                สายพันธุที่1        ตัวแทนเชื้อพันธุภาคเหนือ             3.67a
                สายพันธุที่2   ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ    3.29b

                สายพันธุที่3        ตัวแทนเชื้อพันธุภาคกลาง              3.59a
                สายพันธุที่4      ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันออก           2.95d
                สายพันธุที่5       ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันตก            3.09c
                สายพันธุที่6         ตัวแทนเชื้อพันธุภาคใต             2.93d

                     F                                                      **
                  CV (%)                                                   2.58
               **     หมายถึง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญอยางยิ่ง (P<0.01)
               คาเฉลี่ยในคอลัมนเดียวกันที่ตามดวยอักษรเหมือนกันไมแตกตางกันที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT

               ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาที่ 14 วันหลังปลูก

                      พบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญอยางยิ่งในลักษณะจํานวนใบตอตน   ความยาวใบและความสูงตน
               ปอเทืองที่ระยะ 14 วันหลังปลูก สายพันธุ2 และ3 มีความยาวใบสูงสุด (8.45 และ 8.05 ใบ) สายพันธุที่1-4 มีความ
               กวางใบกวางสุดใกลเคียงกัน (110.82, 10.30, 11.00 และ 10.45 มิลลิเมตร) และสายพันธุที่1 และ 2 มีความสูงตน
               ปอเทืองสูงสุด (13.80 และ 14.22 เซนติเมตร) พบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญในลักษณะความกวางใบและเสน

               ผานศูนยกลางโคนตน โดยความกวางใบสายพันธุทุกสายพันธุยกเวนสายพันธุที่6 ความกวางใบนอยสุด ลักษณะเสน
               ผานศูนยกลางโคนตน  สายพันธุที่1  และ  2  มีเสนผานศูนยกลางโคนตนมากที่สุด  (1.42  และ  1.45  เซนติเมตร)
               (ตารางที่ 2)
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33