Page 29 - ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพและผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ์ปอเทืองไทย Genetic Diversity, Biomass and Seed Yield of Thai Sunn Hemp (Crotalaria juncea L.) Germplasm
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                     ห




                                                                                                        16


               ตารางที่ 2 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาของปอเทือง 6 สายพันธุที่ระยะ 14 วันหลังปลูก

                               จํานวนใบ  ความกวาง     ความยาว เสนผานศูนยกลาง
                                  ตอตน         ใบ         ใบ            โคนตน         ความสูง
                สายพันธุ          (ใบ)  (มิลลิเมตร)  (มิลลิเมตร)      (มิลลิเมตร)    (เซนติเมตร)
                สายพันธุที่1   7.88bc       10.82a     51.08a             1.42a        13.80ab
                สายพันธุที่2   8.05ab       10.30a     50.62a             1.45a         14.22a

                สายพันธุที่3     8.45a      11.00a     51.48a             1.27b        12.68bc
                สายพันธุที่4   7.50cd       11.00a     52.72a             1.27b         12.43c
                สายพันธุที่5   7.53cd       10.45a     47.90b             1.20b         11.45c
                สายพันธุที่6    7.18d        9.25b     42.50c             1.23b          9.10d

                F                    **           *          **                *              **
                CV (%)             3.84        4.83         3.3             6.39            6.66
               *      หมายถึง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (P<0.05)
               **     หมายถึง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญอยางยิ่ง (P<0.01)
               คาเฉลี่ยในคอลัมนเดียวกันที่ตามดวยอักษรเหมือนกันไมแตกตางกันที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT


               ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาที่ 30 วันหลังปลูก
                      พบวาจํานวนใบตอตน ความกวางใบ ความยาวใบ เสนผานศูนยกลางโคนตน ความสูง ความกวางทรงพุม
               และจํานวนกิ่งหลักตอตน ของสายพันธุที่ทดสอบทั้งหมด 6 สายพันธุไมมีความแตกตางกันในทางสถิติ (ตารางที่ 3)


               ตารางที่ 3 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาของปอเทือง 6 สายพันธุที่ระยะ 30 วันหลังปลูก
                             จํานวนใบ                               เสนผานศูนย            ความกวาง
                                ตอตน  ความกวางใบ  ความยาวใบ      กลางโคนตน     ความสูง      ทรงพุม
                                 (ใบ)     (มิลลิเมตร)   (มิลลิเมตร)   (มิลลิเมตร)  (เซนติเมตร)  (เซนติเมตร)
                สายพันธุที่1     25          14.35        65.93          2.50       44.33      15.38

                สายพันธุที่2     24          15.50        71.58          2.58       44.48      16.63
                สายพันธุที่3     26          15.65        70.30          2.73       46.62      16.05
                สายพันธุที่4     23          13.60        63.83          2.20       34.95      14.88
                สายพันธุที่5     23          14.77        69.05          2.40       40.05      15.58
                สายพันธุที่6     22          14.27        66.83          2.17       34.40      14.63

                F                  ns            ns           ns            ns         ns          ns
                CV (%)           8.45          9.52         7.01            14       16.11        8.34
               ns     หมายถึง ไมแตกตางกันทางสถิติ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34