Page 19 - ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพและผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ์ปอเทืองไทย Genetic Diversity, Biomass and Seed Yield of Thai Sunn Hemp (Crotalaria juncea L.) Germplasm
P. 19

ห
                                                                                     ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                         6


               การกระทําของยีนหลายตัวและหลายตําแหนงเกี่ยวของกันและมีอิทธิพลของสภาพแวดลอมในการแสดงออกดวย

               (Yang and Smale, 1996 อางโดย Mounmeuangxam, 2003 ; ทรายแกว, 2547) การประเมินความหลากหลาย
               ทางพันธุกรรมในขั้นตนนั้นสวนมากจะอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาเปนหลัก เนื่องจากเปน
               ลักษณะที่สังเกตไดงาย บันทึกไดสะดวก และใชดัชนีความหลากหลายมาเปรียบเทียบความหลากหลายระหวาง
               พันธุ ภายในพืชชนิดเดียวกันหรือพันธุเดียวกัน ซึ่งมีหลายวิธี โดย Shannon Index หรือ Shannon-Weaver
               Index (H') เปนดัชนีความหลากหลายทางพันธุกรรมที่ใชกันเปนสวนมาก หากพบวาคา H' = 0 หมายถึงไมมีความ
               หลากหลายทางพันธุกรรม และ คา H' สูง หมายถึงมีความหลากหลายทางพันธุกรรมสูง (Power and McSorley,

               2000 ; Coffey, 2002) คํานวณจากสูตร

                                                                  S
                                                           H'     piln pi
                                                                i   1

               โดย    s      =      จํานวนชนิดที่พบ
               pi     =      สัดสวนของชนิดนั้นตอจํานวนทั้งหมด
                      สิรภัทรและคณะ (2558) ประเมินลักษณะประชากรงาขี้มอนพื้นเมืองจากภาคเหนือตอนบนของประเทศ
               ไทย จํานวน 39 ประชากร โดยใชลักษณะทางสัณฐานวิทยา และทางสรีรวิทยาพืชไร 14 ลักษณะ ปริมาณไขมัน
               รวม และกรดไขมัน พบวา มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่ใกลเคียงกันมากแสดงถึงฐานพันธุกรรมที่แคบ มีเพียงสอง
               ลักษณะที่แตกตางกัน คือ ปริมาณขนใบซึ่งพบความแตกตางระหวางประชากร (H' ตั้งแต 0 ถึง 0.451) และสีเมล็ด

               ซึ่งพบความแตกตางทั้งภายในประชากรและระหวางประชากร (H' ตั้งแต 0.679 ถึง 1.085) สวนลักษณะทาง
               สรีรวิทยาพบวามีความแตกตางกันในลักษณะความสูง วันออกดอก น้ําหนัก 1,000 เมล็ด องคประกอบผลผลิต
               และปริมาณกรดไขมันในเมล็ด โดยพบความแตกตางทั้งภายในประชากรและระหวางประชากร
                      ศิริพรและคณะ (2553) ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของกระถิน 45 accessions ในประเทศ

               ไทยโดยใชลักษณะทางสัณฐานวิทยา ลักษณะทางการเกษตร และคุณภาพของเนื้อไมทั้งหมด 23 ลักษณะ สามารถ
               จัดจําแนกกระถินไดเปน 2 กลุมใหญ คือ กลุมที่ 1 ประกอบดวยกระถินจํานวน 4 accessions สวนกลุมที่ 2
               ประกอบดวยกระถินจํานวน 41 accessions โดยกระถินที่ใหผลผลิตน้ําหนักแหงและความหนาแนนของเนื้อไมสูง
               ที่สุดจัดอยูในกลุมที่ 2 ซึ่งกระถินในกลุมนี้เหมาะสมสําหรับคัดเลือกไวใชเปนสายพันธุพอหรือแมในการปรับปรุง
               พันธุเพื่อใชเปนพืชพลังงานทดแทนตอไป
                      ทรายแกวและคณะ (2546) ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในและระหวางประชากรของเชื้อ

               พันธุขาวพื้นเมืองไทย ที่มีชื่อเหมือนกันคือ บือชอมี จํานวน 22 ตัวอยางพันธุ โดยใชลักษณะทางสัณฐานวิทยาและ
               สรีรวิทยา แบงเปนลักษณะทางคุณภาพ 14 ลักษณะ และลักษณะทางปริมาณ 4 ลักษณะ พบวา ลักษณะทาง
               คุณภาพที่มีความหลากหลายมากภายในประชากรทุกประชากรคือ ลักษณะการมีหางขาวของเมล็ด (H' ตั้งแต
               0.1169 ถึง 1.0699) และลักษณะทรงกอ (H' ตั้งแต 0 ถึง 0.6931) สวนลักษณะทางปริมาณที่พบความแตกตาง

               ระหวางประชากรคือ อายุออกรวง และความสูงที่ระยะเก็บเกี่ยว สําหรับภายในประชากรมีความหลากหลายมาก
               ในลักษณะทางปริมาณทั้ง 4 ลักษณะ คือ จํานวนหนอตอตน จํานวนรวงตอตน อายุออกรวง และความสูงที่ระยะ
               เก็บเกี่ยว (%CV สูงที่สุดเทากับ 33.1 39.72 4.2 และ 18.0 ตามลําดับ)
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24