Page 14 - ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพและผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ์ปอเทืองไทย Genetic Diversity, Biomass and Seed Yield of Thai Sunn Hemp (Crotalaria juncea L.) Germplasm
P. 14

ห
                                                                                     ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                         1


               ชื่อโครงการวิจัย     ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพ และผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุปอเทือง

                                    ไทย
               ทะเบียนวิจัยเลขที่    61 63 03 12 010000 020 102 01 11
               ผูรับผิดชอบ         นายเทอดศักดิ์ อนากาศ
               ผูรวมดําเนินการ    นางชุติมา จันทรเจริญ   หนวยงาน    กลุมวิชาการฯ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8
                                    นางทรายแกว อนากาศ     หนวยงาน    กลุมวิชาการฯ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8
                                    นายสาธิต กาละพวก       หนวยงาน    กลุมวิชาการฯ สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 8

                                    ดร. ตอนภา ผุสดี       หนวยงาน    คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

                                                         บทคัดยอ


                      การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพ และผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุปอเทืองไทย โดยทํา
               การทดลองในกลุมชุดดินที่  35 ชุดดินโคราช  ในสถานีพัฒนาที่ดินพิษณุโลก หมูที่ 2  ตําบลชัยนาม อําเภอวังทอง
               จังหวัดพิษณุโลก ระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2563 ประกอบดวย 4 โครงการวิจัยยอย คือ
               โครงการวิจัยยอยที่  1  การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในและระหวางประชากรของเชื้อพันธุ
               ปอเทืองไทยดวยลักษณะทางสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยา  โครงการวิจัยยอยที่  2  ความสัมพันธของสีเมล็ดพันธุตอ
               การเจริญเติบโต มวลชีวภาพ และผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุปอเทืองไทย โครงการวิจัยยอยที่ 3 ความสัมพันธของ

               ขนาดเมล็ดพันธุตอการเจริญเติบโต มวลชีวภาพ และผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุปอเทืองไทย และโครงการวิจัยยอย
               ที่ 4 ความสัมพันธของเนื้อดินตอการเจริญเติบโต มวลชีวภาพ และผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุปอเทืองไทย
                      โดยโครงการยอยที่ 1 วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block (RCB) จํานวน 4 ซ้ํา
               ดําเนินการปลูกทดลองในแปลงวิจัย ประกอบดวย เชื้อพันธุปอเทืองจํานวน 6 สายพันธุ (accessions) สายพันธุที่ 1

               (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคเหนือ) สายพันธุที่ 2 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) สายพันธุที่ 3 (ตัวแทนเชื้อ
               พันธุภาคกลาง) สายพันธุที่ 4 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันออก) สายพันธุที่ 5 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคตะวันตก) สาย
               พันธุที่ 6 (ตัวแทนเชื้อพันธุภาคใต)
                      โครงการยอยที่ 2 วางแผนการทดลองแบบ Split plot in RCB จํานวน 3 ซ้ํา ดําเนินการปลูกทดลองใน
               แปลงวิจัย Main plot คือ สีเมล็ดพันธุปอเทือง ประกอบดวย 2 กลุมสี ไดแก กลุมสีเขมและกลุมสีออน Sub plot
               คือ เชื้อพันธุปอเทือง ประกอบดวย 6 สายพันธุ

                      โครงการยอยที่ 3 วางแผนการทดลองแบบ Split plot in RCB จํานวน 3 ซ้ําดําเนินการปลูกทดลองใน
               แปลงวิจัย Main plot คือ ขนาดเมล็ดพันธุปอเทือง ประกอบดวย 2 กลุมขนาด ไดแก กลุมขนาดใหญและกลุมขนาว
               ปานกลาง Sup plot คือ เชื้อพันธุปอเทือง ประกอบดวย 6 สายพันธุ
                      โครงการยอยทที่ 4 วางแผนการทดลองแบบ Split plot in RCB จํานวน 3 ซ้ํา ดําเนินการปลูกทดลองใน

               กระถาง Main plot คือ เนื้อดิน ประกอบดวย 3 เนื้อดิน ไดแก 1.ดินเนื้อละเอียด 2.ดินเนื้อปานกลาง 3.ดินเนื้อ
               หยาบ Sub plot คือ เชื้อพันธุปอเทือง ประกอบดวย 6 สายพันธุ
                      ผลการศึกษาพบวา สายพันธุตัวแทนเชื้อพันธุจากภาคเหนือ แสดงลักษณะดีเดนที่บันทึกไดมากที่สุด และ
               สามารถแบงกลุมของสายพันธุดวยวิธี cluster analysis ได 3 กลุม คือ กลุม 1 สายพันธุตัวแทนเชื้อพันธุภาคกลาง
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19