Page 9 - เทคโนโลยีการจัดการดินเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์มันแกวที่มีปริมาณและคุณภาพที่ดีที่เหมาะสมในดินทราย จังหวัดมหาสารคาม
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                               7



                   ความสามารถสูงในการยอยสลายวัสดุเหลือใชจากการเกษตร เพื่อผลิตปุยหมักในชวงระยะเวลาอันสั้น
                   ประกอบดวยเชื้อแบคทีเรีย เชื้อแอคติโนมัยซีสและเชื้อรา (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551)
                          ประโยชนของปุยหมัก

                          สมบัติทางกายภาพของดิน: ดินรวนซุย การจับตัวเปนกอนอุมน้ําดีขึ้น
                          สมบัติทางเคมีของดิน: แหลงธาตุอาหารพืชเพิ่มประสิทธิภาพของปุยเคมี คาความเปนกรดเปนดางของ
                   ดินคงที่ ลดความเปนพิษของธาตุบางชนิด เชน แมงกานีส หรืออลูมินั่ม
                          สมบัติทางชีวภาพของดิน: เพิ่มแหลงอาหารของจุลินทรียดิน ควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืชในดินปรับสภาพ

                   ดิน และน้ําใหเหมาะสมในบอเลี้ยงกุงหรือบอปลา (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553)
                          จากการศึกษาของ Goyal (1998) และ Dauden et al. (2004)  พบวา การใสปุยอินทรียเปนวัสดุ
                   ปรับปรุงดิน เชน มูลหมูและปุยคอกชนิดตาง ๆ มีความสําคัญตอการเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุไนโตรเจน ซึ่งเปนสิ่ง

                   สําคัญในการเพิ่มความอุดมสมบูรณและปรับโครงสรางดิน การใสวัสดุปรับปรุงดินประเภทอินทรียวัตถุ จะเพิ่ม
                   ความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชไดมากกวาการใสปุยเคมีแตเพียงอยางเดียว จากการศึกษาดังกลาว จึงควร
                   กําหนดอัตราการใชปุยอินทรียใหกับดิน ตามความจําเปนตอการใชธาตุอาหารของพืชแตละชนิด

                           มันแกว (Jícamaหรือ Yam bean)  จัดเปนพืชไร พืชลมลุก และเปนพืชตระกูลถั่วมีชื่อวิทยาศาสตรวา
                   "Pachyrhizuserosus(L.) Urbar" ลักษณะตนเปนเถาเลื้อย ยาวมากกวา 3-10 เมตร ลักษณะลําตนเปนเถาสีเขียว

                   ออน เขียวแกจนถึงเขียวออกน้ําตาลตามอายุของตน และมีขนปกคลุม หัวอวบใหญใตดิน เปนรากสะสมอาหารใบ
                   ประกอบดวย 3  ใบยอยมีจักใหญ ดอกมีสีขาวหรือชมพูเปนชอ เมล็ดมีสีเหลือง สีน้ําตาล หรือสีแดงลักษณะ
                   สี่เหลี่ยมจตุรัสแบน โดยตนมันแกว 1 ตนมีเพียงหัวเดียว สวนที่ใชรับประทานคือสวนของรากแกวเนื้อของมันแกว
                   ใชรับประทานเพื่อชวยลดพิษ ลดไข อาการปวดศรีษะ แกความดันโลหิตสูง ใชแกพิษสุราเรื้อรัง แกเลือดออกตาม

                   ไรฟน บํารุงรางกาย เนื่องดวยมีวิตามินซีมากพอสมควร (หัวมันแกว 100 กรัม มีวิตามินซีประมาณ 15 มิลลิกรัม)

                         มันแกวเปนพืชที่มีถิ่นกําเนิดในหลายพื้นที่เชนในแถบอเมริกากลางแอฟริกาตะวันออก และในประเทศแถบ

                   ทวีปเอเชียคือ ฟลิปปนส อินเดีย จีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ในประเทศไทยมันแถวมีอยู 2  ชนิดคือ พันธุหัวใหญ
                   และพันธุหัวเล็ก อาจจะมีชื่อเรียกตางกันไปตามแตภูมิภาคไดแก ภาคใตเรียกวา "หัวแปะกัวะ" ภาคเหนือเรียกวา
                   "มันละแวก" "มันลาว" สวนภาคอีสานเรียกวา "มันเพา" นอกจากนี้ยังอาจเรียกดวยชื่ออื่นๆ เชน "เครือเขาขน"
                   "ถั้วบง" และ"ถั่วกินหัว"


                         สวนใบของมันแกวมีคุณสมบัติในการรักษาโรคผิวหนังเชน กลาก เกลื้อน และยังเปนยาถายพยาธิที่มี

                   สรรพคุณดีตัวหนึ่ง สวนหัวของมันแกว (รากแกว) เปนสวนที่ใชรับประทาน ลักษณะภายนอกมีสีน้ําตาลออน
                   ภายในมีสีขาว เมื่อเคี้ยว รูสึกกรอบคลายลูกสาลี่สดอีกทั้งยังมีรสคลายแปงแตออกหวาน โดยทั่วไปจะรับประทาน
                   สดๆ หรือจิ้มกับพริกเกลือ แลวยังสามารถนําไปประกอบอาหารไดทั้งคาวและหวานอีกดวย เชน แกงสม แกงปา
                   ผัดเปรี้ยวหวาน ผัดไข ทําสลัด เปนสวนผสมของไสซาลาเปาและทับทิมกรอบแตในทางกลับกัน ตนมันแกว
                   สามารถใชเปนยากําจัดศัตรูพืชโดยใชสวนของเมล็ด ฝกแก ลําตน และราก แตสวนเมล็ดจะมีสารพิษมากที่สุด ทํา

                   ใหมีประสิทธิภาพในการกําจัดแมลงดีที่สุด นอกจากนั้นถามนุษยรับประทานเมล็ดเขาไปจะทําใหเกิดอาการคลื่นไส
                   อาเจียน ซึ่งถาไดรับในปริมาณมาก สารพิษ Routinone จะกระตุนระบบหายใจ แลวกดการหายใจ ชัก และอาจ
                   เสียชีวิตได (วิกิพีเดีย, 2549) การรับประทานเมล็ดมันแกวเพียงครึ่งเมล็ดสามารถชวยเปนยาระบาย ยาถายพยาธิ

                   แตมักมีอาการขางเคียง เชน คลื่นไส อาเจียน วิงเวียนศรีษะ ในประเทศอินโดนีเซียมีการใชผงจากเมล็ดมันแกวทา
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14