Page 11 - เทคโนโลยีการจัดการดินเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์มันแกวที่มีปริมาณและคุณภาพที่ดีที่เหมาะสมในดินทราย จังหวัดมหาสารคาม
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                               9



                         โรคที่พบสวนใหญในระบบการผลิตมันแกว ไดแก โรคโคนเนา และหัวเนา คิดเปนรอยละ 75  และ 25
                   แมลงที่พบสวนใหญ คือ เสี้ยนดิน ดวง/ดวงเตาทอง และหนอนกินใบ/มวนใบ คิดเปนรอยละ 84 28  และ 16

                   ตามลําดับ และเกษตรกรสวนใหญไมมีการกําจัดศัตรูพืชเนื่องจากยังขาดเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการปองกันกําจัด
                   มีเพียงสวนนอยที่มีการปองกันกําจัด เชน การใชมือบีบ ปูนขาว หรือใชสารเคมี เชน เลนเนทฟอสดิน และฟูรา
                   ดาน (อนุชา และคณะ, 2554)


                         เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดมหาสารคามสวนใหญมีการปลูกมันแกวทั้งที่เปนที่ดอนซึ่งเปนพื้นที่ไรและที่ลุมซึ่ง
                   เปนพื้นที่นา แตเกษตรกรมักจะปลูกในพื้นที่ลุมซึ่งเปนพื้นที่นาหลังเก็บเกี่ยวขาวเปนสวนใหญ ลักษณะดินสวนใหญ
                   เปน ดินเหนียวปนทราย ดินทรายปนรวน รวนปนทราย ดินทราย มีแหลงน้ํา เพื่อใชในการปลูกมันแกวในชวงฤดู
                   แลง เกษตรกรเกือบทุกรายใชพันธุเบา สวนใหญนําเมล็ดพันธุมาจากแหลงปลูกจังหวัดจันทบุรี ฤดูกาลปลูกมี 3

                   ชวง ไดแก ชวงแรกจะเริ่มปลูกในชวงเดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน ชวงที่สอง จะเริ่มปลูกในชวงเดือน
                   พฤษภาคม ถึง เดือนสิงหาคม และชวงที่สามจะเริ่มปลูกในชวงเดือนกันยายน ถึงเดือนธันวาคม ซึ่งเปนชวงที่
                   เกษตรกรมีการปลูกมากที่สุด ระบบการปลูกจะเปนการปลูกแบบหมุนเวียนมีการสลับพื้นที่ปลูกหรือพืชปลูก

                   หมุนเวียนกันไป สวนการเตรียมดินเกษตรกรมีการเตรียมดินคอนขางดี เพราะสวนใหญมีการไถเตรียมดิน 2-3 ครั้ง
                   ระยะปลูกที่ใชสวนใหญจะใชระยะ 10x10 เซนติเมตร โดยจะปลูกบนสันรองกวางประมาณ 70 เซนติเมตร มีระยะ
                   ระหวางรอง 90 เซนติเมตรกนรองกวาง 20 เซนติเมตรจะได 6 แถว มีจํานวนตนตอไรประมาณ 84,000 ตนตอไร
                   เกษตรกรสวนใหญมีการกําจัดวัชพืชโดยวิธีกล คือดายหญา โดยเริ่มตั้งแตมันแกวเริ่มงอกจนกระทั่งถึงอายุ

                   ประมาณ 90 วัน สวนการใสปุยเกษตรกรมีการใสทั้งปุยอินทรีย ปุยเคมี และสารชนิดอื่นๆ โดยการใสปุยอินทรีย
                   จะเปนปุยคอก หวานในอัตรา 500-1,000  กิโลกรัมตอไร กอนไถแปรครั้งที่ 2  และสวนใหญมีการใสปุยเคมีสูตร
                   15-15-15 โดยแบงใส 2 ครั้ง มีเพียงสวนนอยที่ใสปุยเคมีสูตร 16-8-8 โดยสวนใหญใสโดยวิธีหวานในอัตราเฉลี่ย
                   25.7 กิโลกรัมตอไร เปนรองพื้น เมื่อมันแกวอายุ 1 เดือน จึงใสปุยครั้งที่ 2 อัตรา 22.9 กิโลกรัมตอไร การปฏิบัติ

                   หลังเก็บเกี่ยวเกษตรกรสวนใหญจําหนายในรูปหัวมันแกวสด ราคาหัวมันแกวสดเฉลี่ยอยูที่ 12  บาทตอกิโลกรัม
                   มันแกวที่อายุเก็บเกี่ยวเร็ว หัวมันแกวจะมีปริมาณน้ําสูง ปริมาณแปงต่ํา ปริมาณน้ําตาลสูง แตถาเก็บเกี่ยวลา
                   ออกไป การสะสมแปงในหัวมันแกวจะสูงขึ้น ความหวานลดลง ปริมาณน้ําลดลง ซึ่งจะมีผลตอการนําไปใช
                   ประโยชนในการแปรรูปตอไป (อนุชา และคณะ, 2554)


                         จันทรสุดา และคณะ (ม.ป.ป.)  ศึกษาสภาพการผลิตและความตองการการสงเสริมการผลิตมันแกวของ
                   เกษตรกรในอําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม พบวา สภาพการผลิตมันแกวของเกษตรกรสวนใหญปลูกปละ 1

                   ครั้ง เริ่มปลูกในเดือนพฤศจิกายน และเก็บเกี่ยวในเดือนกุมภาพันธ (ชวงเทศกาลนมัสการพระธาตุพนม) ระบบ
                   ปลูกเปนพืชเดี่ยวทั้งหมด ในที่สวน ดินรวนปนทราย ทั้งแบบยกรองและไมยกรอง ถาปลูกแบบไมยกรองมีระยะ
                   ปลูก 15x15 เซนติเมตร ใชเมล็ดพันธุเฉลี่ย 18.16 กิโลกรัมตอไรของพันธุหัวใหญ (หนัก) ที่ผลิตเมล็ดพันธุเอง ให

                   น้ําจากแหลงน้ําธรรมชาติ 1.46  ครั้งตอรอบการผลิต โดยนับอายุในการเก็บเกี่ยว ขายสงแกพอคาคนกลางและ
                   ขายปลีกในราคาเฉลี่ย 9.53 และ 13.38 บาทตอกิโลกรัม การเก็บรักษามันแกวที่ดีวิธีหนึ่ง คือ ถาราคายังไมดี ยัง
                   ไมขุดขึ้นจากดินวิธีนี้จะสามารถทิ้งหัวมันแกวไวในดิน อยางไรก็ตาม เกษตรกรประสบปญหาเมล็ดพันธุมันแกวมี
                   ราคาสูง ขาดเมล็ดพันธุที่มีคุณภาพดี ขาดความรูในการผลิตเมล็ดพันธุดี และตองการคําแนะนําในการเก็บรักษา
                   เมล็ดพันธุใหสามารถเก็บไวไดนานขึ้น สวนการศึกษาของ อนุชา และคณะ (2554)  และพงศเทพ และคณะ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16