Page 6 - เทคโนโลยีการจัดการดินเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์มันแกวที่มีปริมาณและคุณภาพที่ดีที่เหมาะสมในดินทราย จังหวัดมหาสารคาม
P. 6

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                               4



                                                         หลักการและเหตุผล
                            มันแกว เปนพืชเศรษฐกิจที่คนไทยรูจักมานาน มีลักษณะเปนพืชหัว เปลือกสีขาวนวล เนื้อในสีขาว สวน

                   ใหญกินแบบหัวมันแกวสดเหมือนผลไม มีรสหวาน มัน เนื้อกรอบ แลวยังมีการนํามาแปรรูปเปนผลิตภัณฑเพื่อ
                   บริโภคในหลายรูปแบบ เชน ทับทิมกรอบ ไสขนม ประกอบอาหาร เปนตน มันแกวมีวิตามินซี และเสนใยสูง มี
                   ประโยชนตอระบบขับถาย และปองกันไขหวัด
                            มันแกว เปนพืชทนสภาวะแลงไดดี ดูแลงาย เหมาะที่จะปลูกในพื้นที่ดินรวนปนทราย ที่มีการระบาย
                   น้ําดี ถามีโพแทสเซียมในดินมาก หัวมันแกวจะมีรสหวาน ทําการปลูกเพื่อเก็บผลผลิตหัวสดไดในระยะเวลาสั้น

                   ประมาณ 3-4 เดือน
                            จังหวัดมหาสารคามปลูกมันแกวและผลิตหัวมันแกวสดเพื่อจําหนายไดมากเปนอันดับหนึ่งของประเทศ
                   ไทย แตเกษตรกรในจังหวัดมหาสารคามไมสามารถผลิตเมล็ดพันธุมันแกวใชเองหรือเพื่อจําหนายเมล็ดพันธุมันแกว

                   ได จึงไดสั่งซื้อเมล็ดพันธุมันแกวมาจากแหลงอื่นนอกจังหวัดมหาสารคาม ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากสภาพดิน
                   ความชื้นในอากาศ การจัดการน้ํา การจัดการดิน หรือสภาพแวดลอมอื่นๆ ที่แตกตางกัน ทําใหเกิดปญหาในการ
                   ผลิตเมล็ดมันแกว
                            ดังนั้นการผลิตเมล็ดพันธุมันแกวในจังหวัดมหาสารคามจึงนาที่ตองมีการจัดการดิน น้ํา พืช  เปนอยางดี

                   แตถามีการใชปุยเคมีเพียงอยางเดียวติดตอกันเปนเวลานานจะสงผลใหสมบัติทางเคมี กายภาพ และชีวภาพของ
                   ดินเสื่อมโทรมลงได  การพิจารณาในดานการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพ โดยการนําเทคโนโลยีผลิตปุยหมักจากสาร
                   เรง พด 1 ที่สงเสริมโดยกรมพัฒนาที่ดินโดยใชรวมกับปุยเคมีในการเพิ่มผลผลิตพืช เพื่อชวยปรับปรุงสมบัติตางๆ
                   ของดินใหเหมาะสมตอการผลิตพืช เกิดสภาวะสมดุลของดิน ทําใหดินเกิดความยั่งยืนในกระบวนการผลิตพืช

                            การเปดเศรษฐกิจเสรี ทําใหตลาดการสงออกของไทยสามารถขยายพื้นที่ออกไปไดไกลในภูมิภาค
                   อาเซียน อีกทั้งความทาทายของเทคโนโลยีใหมๆ เปนแรงกระตุนใหประเทศไทยตองพัฒนาสินคาเกษตรใหมี
                   คุณภาพตอไป และสามารถสงออกสินคาที่มีคุณภาพนั้นไปขายยังภูมิภาคอาเซียน ซึ่งในการผลิตเมล็ดพันธุมันแกว
                   นั้น ในอดีตเกษตรกรในจังหวัดมหาสารคามจะผลิตเมล็ดมันแกวใชภายในครัวเรือนเทานั้น แตปจจุบันจะสั่งเมล็ด

                   พันธุมันแกวจากแหลงอื่นเขามาปลูกภายในจังหวัด ดังนั้นการพัฒนาระบบการปลูกมันแกวเพื่อผลิตเมล็ดพันธุใน
                   จังหวัดมหาสารคามนาจะมีหนทางที่เปนไปได และไดคุณภาพและปริมาณที่ทัดเทียมกับที่ปลูกจากแหลงอื่น ซึ่ง
                   นอกจากจะสงขายภายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือแลวยังสามารถสงสินคาไปขายยังประเทศในภูมิภาคอาเซียนได
                            ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้เพื่อหาวิธีการจัดการดินทรายที่เหมาะสมเพื่อการผลิตเมล็ดพันธุมันแกวใหมี

                   ปริมาณและคุณภาพที่ดี ตามศักยภาพดินของจังหวัดมหาสารคาม ซึ่งสวนใหญจะมีเนื้อดินเปนดินทราย ดินรวนปน
                   ทราย หรือดินทรายปนรวน การระบายน้ําดี และประสบปญหาขาดแคลนน้ํา ในพื้นที่ที่มีความลาดชัน ดินงายตอ
                   การถูกชะลางพังทลายสูญเสียหนาดิน  ในการปลูกพืชจึงจําเปนตองมีการปรับปรุงบํารุงดินในรูปของการใสปุยเคมี
                   รวมกับปุยอินทรีย ซึ่งเปนการเพิ่มอินทรียวัตถุทําใหเม็ดดินเกาะตัวกันเปนกอน ดินรวนซุย ดูดซับความชื้นไวไดสูง

                   ลดการชะลางพังทลายของหนาดิน และยกระดับความอุดมสมบูรณของดินใหเหมาะสมตอการผลิตพืชและเมล็ด
                   พันธุพืช
                            การผลิตเมล็ดพันธุมันแกวในจังหวัดมหาสารคามยังขาดขอมูลงานวิจัยสนับสนุนในเรื่องดังกลาว ไมวา

                   จะเปนเรื่องการปรับปรุงพันธุ เทคโนโลยีการผลิต ปญหาทางดานสภาพแวดลอม เชน ดิน โรค และแมลง ความรู
                   การเก็บเมล็ดพันธุ และการแปรรูปผลผลิต เปนตน การศึกษาครั้งนี้มุงศึกษาการผลิตเมล็ดพันธุมันแกว โดยการยก
                   รองและไมยกรอง เพื่อเปรียบเทียบผลผลิต และการศึกษายังมุงเนนการใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี และฉีดพนน้ํา
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11