Page 7 - การคัดเลือกจุลินทรีย์ดินที่มีประสิทธิภาพควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในพืช Effective selection of microbial against root knot nematode
P. 7

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                   ไส้เดือนฝอยได้ดีคือ เชื้อรา Paecilomyces sp. คมกฤช(2539) ได้ทดสอบน าเชื้อรา Paecilomyces sp.

                   แต่ละสายพันธุ์มาทดสอบพบว่า  เชื้อรา Paecilomyces sp. ทุกสายพันธุ์มีแนวโน้มในการเข้าท าลายไข่
                   ของไส้เดือนฝอยรากปมได้ดี  สุภกิจ(2532) ทดลองใช้เชื้อรา P. liacinus ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม M.

                   incognita ที่เข้าท าลายผักกาดหอมในกระถางสภาพโรงเรือนด้วยเชื้อรา  อัตรา 2 4 6 และ 8 กรัมต่อต้น
                   ต่อกระถาง  พบว่า  ความสูง  น้ าหนัก  ต้นสด  น้ าหนักรากสด  และอัตราการเกิดปมมีความแตกต่างกัน

                   ทางสถิติ มนตรี(2538) ทดลองใช้เชื้อรา P. liacinus ควบคุมโรครากปมในแง่งขิงที่เกิดจาก M. incognita
                   พบว่า ช่วยลอความเสียหายของผลผลิตขิงได้อย่างมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับการใช้สาร oxamyl อัตรา

                   48 มิลลิกรัมต่อน้ า 20 ลิตร  ท าให้ผลผลิตขิงเสียหายเพียง 7 – 10 เปอร์เซ็นต์ เทียบกับการปลูกขิงที่เป็น

                   โรคแง่งหูดซึ่งไม่มีการปฏิบัติใดๆ ท าให้ผลผลิตลอลง 33.09 เปอร์เซ็นต์ ทรงศักดิ์ (2540) น าเชื้อรา
                   P. lilacinus ร่วมกับ T. harzianum เพื่อควบคุมโรครากปมของผักกาดหอมที่เกิดจาก M. incognita

                   ในสภาพเรือนทดลอง พบว่า เกิดปมน้อยที่สุด  อนุชา(2537) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงใน

                   การเข้าท าลายกับ enzyme activity ของเชื้อรา P. lilacinus 5 สายพันธุ์ พบว่า  ความรุนแรงในการ
                   เข้าท าลายมีความสัมพันธุกับ enzyme activity โดยเชื้อราสามรถสร้างเอนไซม์ chitinase เพื่อท าลาย

                   ไส้เดือนฝอยได้


                                                 ระยะเวลาและสถานที่ด้าเนินการ


                   ระยะเวลาท้าการวิจัย   เดือนตุลาคม พ.ศ. 2561 - เดือนกันยายน พ.ศ. 2563

                   สถานที่ท้าการทดลอง   กองเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน  กรมพัฒนาที่ดิน


                                                       อุปกรณ์และวิธีการ
                         อุปกรณ์

                          1. อุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่างดิน เช่น พลั่วมือ ถุงพลาสติก ถังน้ าแข็ง เป็นต้น

                          2. สารเคมี วัสดุ และอุปกรณ์ทางด้านจุลชีววิทยา ได้แก่ สารเคมีในการเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ หลอด
                   ทดลอง จานเลี้ยงเชื้อ เป็นต้น
                          3. แบคทีเรียที่ใช้ในการทดลอง

                          4. เมล็ดพันธุ์มะเขือเทศ
                          5. ปุ๋ยเคมี

                          6. อุปกรณ์ส าหรับการศึกษาในสภาพโรงเรือนทดลอง เช่น กระถาง ดินเพาะเมล็ด ดินปลูก
                         วิธีการ

                         1. การเก็บตัวอย่างดิน

                        เก็บตัวอย่างดินในบริเวณรากพืชชนิดต่างๆ ในพื้นที่การเกษตรทั่วประเทศ โดยเก็บทั้งดินและราก
                   ใส่ในถุงพลาสติกรัดให้แน่นเก็บไว้ในกล่องเย็น และน ามาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ

                         2. การแยกและคัดเลือกจุลินทรีย์ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12