Page 6 - การคัดเลือกจุลินทรีย์ดินที่มีประสิทธิภาพควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในพืช Effective selection of microbial against root knot nematode
P. 6

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                   เกิดอาการที่เรียกว่า  ผิวหูด  หรือผิวคางคก  เพราะมีไส้เดือนฝอยรากปมฝังตัวอยู่  ถ้าน าไปท าพันธุ์  หรือ

                   ปล่อยไว้ในแปลง  ก็จะแพร่สู่ดินอีก  ถ้าน าไปทอดเป็นมันฝรั่งทอดกรอบ(potato chips) บริเวณขอบขง
                   แผ่นมันฝรั่งก็จะขาดแหว่งหรือเป็นสีด าไม่รับซื้อ  ซึ่งประเทศไทยระบาดมากในพื้นที่จังหวัดตาก

                              การควบคุมโดยชีววิธี  ซึ่งมีจุลินทรีย์ในดินหลายชนิด  ซึ่งการควบคุมโดยแบคทีเรียที่มี
                  การศึกษากันมากไดแก Pasteuria penetrans เปนแบคทีเรียประเภท obligate parasite ที่เฉพาะเจาะจง

                  กับไสเดือนฝอย การท าลายไสเดือนฝอย (Sasser,  1989)  โดยสปอรที่สัมผัสสวน cuticle  ของไสเดือน
                  ฝอยสปอรงอกเขาไปภายในเวลาประมาณ 8 วัน หลังจากที่ตัวอ่อนเข้าไปในรากพืชเสนใยแทงผาน cuticle

                  เขาไปเจริญในชองวางของล าตัวไสเดือนฝอยและสราง endospore อยูภายใน เมื่อไสเดือนฝอยตายเซลล

                  ถูกยอยสลายสปอรของแบคทีเรียจึงออกมาปะปนอยู่ในดินและเขาท าลายตัวออนที่อยูบริเวณรอบๆ ตอไป
                  แบคทีเรียท าใหระบบการท างานของไสเดือนฝอยเสื่อม ไมสามารถเจริญเติบโตเปนตัวแก่หรือสามารถเจริญ

                  เปนตัวเต็มวัย และขยายพันธุ์ได้นอย

                              การควบคุมโดยเชื้อราที่สามารถควบคุมไส้เดือนฝอยที่เป็นสาเหตุของโรค  ซึ่งมีมากกว่า 400
                  ชนิด 15 สกุล  สามารถเข้าท าลายไส้เดือนฝอยได้ (สืบศักดิ์. 2553) แบ่งออกเป็น

                              1. เชื้อราที่เข้าท าลายไส้เดือนฝอยโดยตรง  เช่น Nematophthora  gynophila  ท าลาย

                  Globodera rostochiensis, Heterodera avenae ได้
                              2. เชื้อราที่เข้าท าลายไข่ไส้เดือนฝอย เช่น Verticillium  chlamydosporium  ท าลาย M.

                  incognita และ M. javanica เชื้อรา Paecilomyces sp. ท าลาย M. incognita เชื้อรา P. nostocoides
                  ท าลาย M. incognita และเชื้อรา Maria conispora  ท าลายไส้เดือนฝอยรากปมหลายชนิด

                              3. เชื้อราที่สร้างห่วงหรือกับดักที่เป็นกาวเหนียวและดูดกินตัวไส้เดือนฝอย  ได้แก่  เชื้อราใน

                  สกุล Arthrobotrys dactyloides, A. irregularis, A. conodes
                             เชื้อราที่ส าคัญและมีแนวโน้มว่าจะสามารถใช้ควบคุมไส้เดือนฝอยได้ดี  ได้แก่ Acremonium

                   sp.,  Alternaria  sp.,  Catenaria  sp.,  Cylindrocarpon  sp.,  Exophiala  sp.,  Fusarium  sp.,
                   Gliocladium sp., Hirsutella sp., Humicola sp., Paecilomyces sp., Penicillium sp., Phoma

                   sp., และ Pythium sp.

                             นอกจากนี้ยังมีการทดลองใช้เชื้อราชนิดใหม่ๆ เช่น Thomas et al.(1989) ทดลองใช้เชื้อรา
                   mycorrhiza 6 ชนิด ควบคุม M. incognita ในการปลูกต้นกระวาน  พบว่า Gigaspora margarita และ

                   Glomus fasciculatum เป็น mycorrhiza ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการประชากร M. incognita ส่วน

                   เชื้อราที่ได้รับความสนใจมากในการใช้เป็น parasite ของไส้เดือนฝอยคือ V. chlamydosporium และ
                   Paecilomyces sp. (Sasser, 1989) เชื้อราทั้งสองชนิดเป็น non obligate parasite ของตัวเมีย ไขของ

                   Cyst  และ root  –  knot  nematode  ซึ่ง Paecilomyces  sp.  โดยพบว่า  เชื้อราชนิดนี้สามารถลด

                   ประชากรของ root – knot nematode(Meloidogyne sp.) และได้ทดสอบในแปลงมันฝรั่งและได้ผลดี
                   จึงมีการทดลองกันอย่างกว้างขวางในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมชนิดอื่นๆ (P.  Javala,  1980)  ใน

                   ประเทศไทยได้มีการน าเชื้อราหลายชนิดมาควบคุมไส้เดือนฝอย  แต่ที่มีประสิทธิภาพในการท าลาย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11