Page 4 - การคัดเลือกจุลินทรีย์ดินที่มีประสิทธิภาพควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในพืช Effective selection of microbial against root knot nematode
P. 4

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                                                      หลักการและเหตุผล

                              เนื่องจากการระบาดของไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne  spp.  พบในหลายพื้นที่และ
                   ท าความเสียหายมากที่สุดในแทบทุกภาคของประเทศไทย(จรัส,  2525)  มีผลเสียหายกับพืชเศรษฐกิจ

                   หลายชนิด ซึ่งไส้เดือนฝอยรากปม M.  incogina  สามารถเข้าท าลายพืชต่างๆ ได้มากโดยเฉพาะพืชผัก
                   ไม้ดอกไม้ประดับ  ไม้ผล  โดยไส้เดือนฝอยรากปมใช้พืชเป็นที่อยู่อาศัย(สืบศักดิ์, 2538)

                               โดยทั่วไปการระบาดของไส้เดือนฝอยรากฝอยสามรถเพิ่มจ านวนได้อย่างรวดเร็วถึงแม้จะมี
                   ประชากรในดินอยู่ในระดับต่ า  และหากเกิดการระบาดค่อนข้างรวดเร็วเนื่องจากไส้เดือนฝอยมีการ

                   สืบพันธุ์แบบ pathenogenesis ซึ่งไส้เดือนฝอยเพศเมียสร้างไข่สามารถฟักออกมาเป็นตัวโดยไม่ต้องได้รับ

                   การผสมจากเพศผู้ (สืบศักดิ์, 2541) ส าหรับการเข้าท าลายของไส้เดือนฝอยรากปม ท าให้พืชไม่สามารถ
                   ดูดน้ าและธาตุอาหารไปเลี้ยงยังส่วนต่างๆของพืชได้  โดยเฉพาะความรุนแรงของการระบาดของไส้เดือน

                   ฝอยรากปม  มีผลท าให้ต้นพืชเกิดอาการเหี่ยวเฉา  แคระเกร็น  และผลผลิตลดลง ส่งผลกระทบต่อการ

                   ผลิตพืชทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ
                                การควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมจากการใช้วิธีชีววิธี(biological  control)   ซึ่งปัจจุบันมี

                   การศึกษาคัดแยกจุลินทรีย์ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม  ซึ่งเป็นการควบคุมที่มีความปลอดภัยในการบริโภค

                   อาหารและรักษาคุณภาพของผลผลิตจากพืชเศรษฐกิจในพื้นที่การปลูกมันฝรั่งของประเทศไทย


                                                       วัตถุประสงค์
                            1. คัดเลือกจุลินทรีย์ดินที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในพืช

                            2.  ทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมมะเขือเทศโดยผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์

                   ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมในสภาพโรงเรือนกระจก


                                                       การตรวจเอกสาร
                              ลักษณะทั่วไปของไส้เดือนฝอยรากปม (M. incognita) มีรูปร่างแตกต่างทั้งในเพศผู้และเพศ

                   เมีย  โดยตัวอ่อนระยะที่ 2 ทั้งเพศผู้และเพศเมียมีรูปร่างยาวเรียวดีคือประมาณ 380 – 450 ไมโครเมตร

                   กว้าง 331 – 520 ไมโครเมตร (whitehead, 1968) spear แข็งแรงยาวประมาณ 10 – 17 ไมโครเมตร
                   รังไข่มี 2 อันรูปร่างโค้งไปทางส่วนหัว  ส่วนปลายของล าตัวมีลักษณะกลมมีช่องเปิดอวัยวะสืบพันธุ์และ

                   ทวารหนัก  ซึ่งมี rectal gland จ านวน 6 ต่อม  ท าหน้าที่ผลิตสารเมือกออกมาปัดคลุมกลุ่มไข่เพื่อป้องกัน

                   อันตราย  นองจากนี้บริเวณช่องเปิดอวัยวะสืบพันธุ์มีรอยย่นรอบๆ ช่องเปิดดังกล่าวรอยย่นนี้เรียกว่า
                   perineal pattern ซึ่งใช้เป็นหลักส าคัญในการจ าแนกชนิดของไส้เดือนฝอย  ไส้เดือนฝอยเพศเมียฝังส่วน

                   ของล าตัวลึกในรากของพืช  ส่วนของกลุ่มไข่ด้วยสารที่คล้ายเจลาติน  กลุ่มไข่ของ M.  incognita  มี

                   ปริมาณไขจ านวน 250 – 525 ฟอง  ไข่ที่อยู่ในกลุ่มไข่สามารถฟักออกเป็นตัวได้อย่างรวดเร็วเมื่อน ากลุ่มไข่
                   ไปแช่ในน้ า  นอกจากนั้นถ้าตัดเอากลุ่มไข่ออกมาแล้วน าไปเก็บไว้ที่สารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.3 โมลา

                   (0.3 M  Nacl)  นาน 30 เดือน  เมื่อน ามาแช่ในน้ าอีกไข่สามารถฟักออกมาเป็นตัวได้  ไม่เฉพาะแต่น้ า
   1   2   3   4   5   6   7   8   9