Page 40 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          2-28





                  ลดน้ําตาลในเลือดไดบาง แกไอ ขับเสมหะ ขับลม แกไขเพื่อเสมหะในคอ แกน้ําลายเหนียว ขับปสสาวะ
                  บํารุงน้ําดี  ราก รสขมขื่นเปรี้ยว ขับเสมหะ แกน้ําลายเหนียว เปนยาแกไอ ขับลม แกคัน ขับปสสาวะ

                  แกไขสันนิบาต รักษามะเร็งเพลิง บํารุงธาตุ รักษาวัณโรค ใบ บํารุงธาตุ แกวัณโรค แกไอ เนื้อไม แกแนน
                  แกจุกเสียด ขับลม แกทองอืดเฟอ ขับพยาธิ


                        2.10.4  สารธรรมชาติออกฤทธิ์

                            ผลมะแวงตนพบสาร Alkaloids  หลายชนิด เชน Diosgenin,  Solanine,  Solasodine

                  (สารนี้พบไดทั้งในสวนของผล ใบ และตน) อีกทั้งยับพบสารจําพวก Amino  acid,  Flavonoid
                  glycoside,  Phenols  สวนในเมล็ดมะแวงตนพบไขมันและวิตามินซี เปนตน สวนใบและผลยังพบ

                  Diogenin, Solanine, Solanidine Beta-sitosterol

                            สารสกัดจากมะแวงตนมีฤทธิ์แกปวด แกอาการอักเสบได โดยสารดังกลาวจะออกฤทธิ์
                  คลายกับ Cortisone

                             สาร Solasodine เปนสารที่มีประสิทธิภาพในการขับเสมหะและแกอาการไอไดดี

                            เมื่อนําสาร Solasodine  ที่สกัดไดจากผลมาฉีดใหหนูที่เปนเบาหวานในขนาด 50-100
                  มิลลิกรัมตอ 1 กิโลกรัม พบวาไมทําใหน้ําตาลในเลือดของหนูที่เปนเบาหวานเพิ่มขึ้น แตหากฉีดใหกับหนู

                  ที่ไมมีโรคเบาหวาน จะมีผลทําใหน้ําตาลในเลือดของหนูเพิ่มขึ้น

                             น้ําสกัดผลมะแวงมีฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือด แตมีฤทธิ์นอยและระยะเวลาการออกฤทธิ์สั้น
                  และยังพบสเตียรอยดในปริมาณคอนขางสูง จึงไมควรนํามาใชติดตอกันเปนเวลานาน

                            สาร Solanine  หากนํามาใชในปริมาณที่มากเกินไปจะทําใหเกิดอาการเปนพิษ ทําลาย
                  เซลลในเม็ดเลือด ทําใหมีอาการปวดศีรษะ ปวดทอง อาเจียน ตาพรามัว ขับถายฉับพลัน หัวใจเตนถี่

                  และคอยๆ ลดลงจนหัวใจหยุดเตน หรือทําใหควบคุมสติไมไดและสลบไป โดยสารดังกลาวจะพบมากใน
                  ผลมะแวงตนดิบ

                             ฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ จากการทดสอบดวยวิธี FRAP test และ  Folin-Ciocalteau assay

                            ฤทธิ์บรรเทาอาการไอ   การศึกษาทางคลินิกในผูปวยอายุระหวาง 18-60 ป ที่มีอาการไอ
                  แบบเฉียบพลัน เปนระยะเวลานอยกวา 7 วัน แบงออกเปนกลุมที่ไดรับยาปฏิชีวนะ (antibiotic)  และ

                  ตํารับยาสมุนไพรที่มีสวนผสมของมะแวงตน (S. indicum L.) ผลการทดสอบพบวาตํารับยาสมุนไพรมี

                  ผลในการบรรเทาอาการไอ
                             ฤทธิ์ตานอักเสบ   สารsteroidal glycosides จากมะแวงตน (S. violaceum Ortega)

                  มีฤทธิ์ตานอักเสบในเซลลเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโทรฟลล โดยยับยั้งการสราง superoxide  anion  และ

                  การหลั่งเอ็นไซม elastase ซึ่งเปนกลไกที่เกี่ยวของกับกระบวนการเกิดการอักเสบ
                            ฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ    ผลมะแวงตน (S.  indicum  L.)  มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ จากการ

                  ทดสอบดวยวิธี FRAP test และ  Folin-Ciocalteau assay




                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45