Page 42 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           3-2






                         17) ศักยภาพการใชเครื่องจักร (Potential for mechanization) : w

                         18) สภาวะสําหรับการเตรียมดิน (Conditions for land preparation) : v

                         19) สภาวะสําหรับการกักเก็บและแปรรูป (Conditions for storage and processing) : q
                         20) สภาวะที่มีผลตอเวลาใหผลผลิต (Conditions affecting timing of production) : y

                         21) การเขาถึงพื้นที่ (Access within the production unit) : a

                         22) ขนาดของหนวยศักยภาพการจัดการ (Size of potential management units) : b
                         23) ที่ตั้ง (Location) : l

                         24) ความเสียหายจากการกัดกรอน (Erosion hazard) : e
                         25) ความเสียหายจากการแตกทําลาย (Degradation hazard) : d

                        สําหรับการประเมินคุณภาพที่ดินของประเทศไทย ไดนํามาใชทั้งหมด 13 ชนิด ขึ้นอยูกับความ

                  พรอมของขอมูล ความแตกตางของภูมิภาค และระดับความรุนแรงของคุณลักษณะที่ดินที่มีผล
                  ตอผลผลิต รวมถึงชนิดพืชและความตองการใชประโยชนที่ดิน (Land use requirements) ซึ่งจะกลาว

                  ในรายละเอียดตอไป



                  3.2  หลักเกณฑการเลือกคุณภาพที่ดินเพื่อใชในการประเมินความเหมาะสมของที่ดิน

                  สําหรับพืชสมุนไพร

                        เนื่องจากคุณภาพที่ดินมีทั้งหมด 25 ชนิด ประกอบดวยคุณลักษณะที่ดินจํานวนมาก ถาจะนํา

                  คุณภาพที่ดินทั้งหมดมาประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชสมุนไพร อาจทําใหผลที่ไดไมตรงกับ
                  ความจริง จึงมีการกําหนดเงื่อนไขในการคัดเลือกคุณภาพที่ดินที่จะใชประเมินความเหมาะสมของที่ดินวา

                  จะตองมีครบ 3 ประการ ดังนี้

                           1) ตองมีผลกระทบตอพืชสมุนไพรนั้นๆ  โดยมีผลกระทบในระดับตางๆไดแก ผลกระทบมาก
                  คือมีผลกระทบทันทีทันใด ผลกระทบปานกลางคือมีผลกระทบมากพอสังเกตได และผลกระทบนอยคือมี

                  ผลกระทบนอยมากจนสามารถมองขามไปได
                           2) คาวิกฤตของคุณภาพที่ดินตองพบในพื้นที่ที่จะปลูกพืชสมุนไพรนั้นๆ  แบงออกเปนระดับ

                  ตางๆไดแก เกิดขึ้นบอยครั้งในระดับที่กระทบตอผลผลิตสมุนไพรโดยจะเกิดขึ้น 5 เปอรเซ็นตหรือสูงกวา

                  เกิดขึ้นบางในระดับที่กระทบตอผลผลิตสมุนไพรโดยจะเกิดขึ้นนอยกวา 5 เปอรเซ็นต และเกิดขึ้นนอย
                  หรือไมเกิดขึ้นเลยในระดับความรุนแรงดังกลาวจะเกิดขึ้นนอยมาก

                           3) การรวบรวมขอมูลคุณภาพที่ดินสามารถปฏิบัติไดและมีรายละเอียดเพิ่มเติม แบงออกเปน
                  2 ลักษณะคือ สามารถรวบรวมได โดยหาขอมูลจากการตรวจเอกสารหรือการสํารวจใหมและไมสามารถ

                  รวบรวมได โดยไมสามารถหาขอมูลหรือผลิตขึ้นไดจากเงื่อนไขในการคัดเลือกคุณภาพที่ดินดังกลาว

                  ขางตน



                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47