Page 43 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           3-3






                  3.3  คุณภาพที่ดินที่ใชในการประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชสมุนไพร


                        จากหลักเกณฑการคัดเลือกคุณภาพที่ดินและการลําดับความสําคัญของคุณภาพที่ดินที่ใชในการ
                  ประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชสมุนไพรพบวา คุณภาพที่ดินที่ควรนํามาใชประเมินสําหรับ

                  พืชสมุนไพรในประเทศไทยมี 13 ชนิด ดังนี้
                           1) ความเขมของแสงอาทิตย (Radiation regime)

                             คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน (Diagnostic characteristics) ไดแก คาความยาวของชวง
                  แสง (Day length) เพราะมีผลโดยตรงตอการออกดอก พืชสมุนไพรแตละชนิดมีความตองการความยาว

                  ของชวงแสงที่มีอิทธิพลตอการออกดอกแตกตางกันออกไป พืชสมุนไพรบางชนิดตองการชวง

                  แสงสั้น(Short day) ถึงจะออกดอก พืชสมุนไพรบางชนิดตองการชวงแสงยาว (Long day) ถึงจะออก
                  ดอก แตพืชสมุนไพรบางชนิดแสงไมมีอิทธิพลตอการออกดอก ซึ่งคาความยาวของชวงแสงจะแตกตางกัน

                  ออกไปตามจุดที่ตั้งบนเสนรุงในแตละชวงเดือน

                           2) ระบบอุณหภูมิ (Temperature regime)
                             คุณลักษณะที่ดินเปนตัวแทนไดแก คาอุณหภูมิเฉลี่ยในฤดูปลูก  (Mean  temperature  in

                  growing  period) เพราะอุณหภูมิมีอิทธิพลตอการงอกของเมล็ด การออกดอกของพืชสมุนไพรบางชนิด
                  และมีสวนสัมพันธกับขบวนการสังเคราะหแสงซึ่งจะสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตของพืชสมุนไพร

                           3) ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (Moisture availability)

                             คุณลักษณะที่ดินเปนตัวแทนไดแก ระยะเวลาการทวมขังของน้ําในฤดูฝน ปริมาณน้ําฝน
                  เฉลี่ยในรอบป หรือความตองการน้ําในชวงการเจริญเติบโตของพืชสมุนไพร นอกจากนี้ควรพิจารณาถึง

                  การกระจายของน้ําฝนในแตละพื้นที่และลักษณะของเนื้อดิน ซึ่งมีผลทางออมในเรื่องความจุในการอุมน้ํา
                  ที่เปนประโยชนตอพืชสมุนไพร

                             คาเปรียบเทียบเนื้อดินกับความจุในการอุมน้ํา

                             ความจุในการอุมน้ํา          เนื้อดิน
                                 1) ต่ํามาก               s (coarse sandy)

                                 2) ต่ํา                  ls (fine sandy)

                                 3) ปานกลาง               scl,sl
                                 4) สูง                   sic,l,cl,c,sc (loamy and clay)

                                 5) สูงมาก                si,sil,sicl,vfsl (silty and very fine sandy loam)

                             ชั้นมาตรฐานความจุในการอุมน้ํา
                                 ระดับ              ความจุในการอุมน้ํา (cm/cm of soil)

                                 1) ต่ํามาก                      < 0.05
                                 2) ต่ํา                       0.05-0.10




                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48