Page 35 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          2-23





























                  ภาพจาก : https://medthai.com

                        2.9.2 สภาพแวดลอมที่เหมาะสม


                            เจริญเติบโตไดดีที่อุณหภูมิระหวาง 30-35 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ 60-80
                  เปอรเซ็นต สภาพพื้นที่สูงจากระดับน้ําทะเล 400-1,000 เมตร ขึ้นไดดีในดินแทบทุกชนิด ชอบดินรวน

                  ระบายน้ําดี  มีอินทรีวัตถุไมนอยกวา 3.5 เปอรเซ็นต  คาความเปนกรดดาง (pH)  ของดิน ที่ความ
                  เหมาะสมอยูในชวง 5.5-7 ปริมาณน้ําฝนที่เหมาะสม คือ 1,400-2,200 มิลลิเมตรตอป ตองการน้ํา และ

                  ความชื้นปานกลาง ถามีน้ําเพียงพอจะสามารถใหผลผลิตไดตลอดป ตองการแสงแดดมาก  พื้นที่ที่ปลูก

                  เปนการคาจะอยูในจังหวัดเพชรบูรณ ปตตานี พระนครศรีอยุธยา ราชบุรี นครราชสีมา บุรีรัมย

                  หนองคาย อุดรธานี

                        2.9.3 ประโยชนและสรรพคุณ

                            ใบ รากมีรสขม เปนยาบํารุงธาตุในรางกาย ชวยบํารุงโลหิต ทั้งผลสุกและผลดิบเปนยาขม

                  ชวยทําใหเจริญอาหาร ดวยการใชผลสดประมาณ 5-10 ผล นํามาโขลกใหพอแหลก คั้นเอาแตน้ําผสม
                  กับเกลือใชจิบบอยๆ หรือจะใชผลสดนํามาเคี้ยวแลวกลืนทั้งน้ําและเนื้อ ชวยลดระดับน้ําตาลในเสนเลือด

                  แกเบาหวาน ดวยการใชผลที่โตเต็มที่ประมาณ 10-20 ผล นํามารับประทานเปนอาหาร เปนผักจิ้มกับ
                  น้ําพริก ใบและรากใชเปนยารักษาวัณโรค รากมีรสขมขื่นเปรี้ยว เปนยาแกไขสันนิบาต ชวยกระทุงพิษไข

                  ใหลดลงราก ใบ ผล และทั้งตนใชเปนยาแกไอ ตํารายาไทยจะใชผลสดเปนยาแกไอ แกเจ็บคอ ดวยการ

                  ใชในผลสด 4-10 ผล นํามาโขลกพอแหลกคั้นเอาแตน้ํามาใสเกลือเล็กนอย ใชจิบบอยๆ หรือใชผลสด
                  เคี้ยวกลืนเฉพาะน้ําจนหมดรสขมเฝอน แลวคายกากทิ้ง จะชวยบําบัดอาการไออยางไดผลชะงัด (แตบาง

                  ใชผลแหงปรุงเปนยาแกไอ)







                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40