Page 45 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           3-5





                          5) ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (Nutrient availability)

                            คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทนไดแก ปริมาณธาตุอาหารพืชในดิน ในที่นี้พิจารณาเฉพาะ

                  ธาตุหลักคือธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ซึ่งเปนธาตุอาหารที่สําคัญตอการเจริญเติบโต
                  ของพืชสมุนไพรทุกชนิด ประกอบกับการพิจารณาถึงปฏิกิริยาดิน ซึ่งจะมีผลตอลักษณะทางเคมีของธาตุ

                  อาหารพืชในดินที่อยูในรูปที่พืชสามารถนําธาตุนั้นไปใชไดหรือไม นอกจากนั้นแลวปฏิกิริยาดินจะมีผลตอ

                  กิจกรรมของจุลินทรียดิน ซึ่งมีสวนสําคัญในขบวนการยอยสลายอินทรียวัตถุดวย

                            ชั้นมาตรฐานปริมาณอินทรียวัตถุ (Organic matter)

                            ระดับ                   ปริมาณอินทรียวัตถุ (%)
                             1) ต่ํามาก                     < 0.5

                             2) ต่ํา                      0.5-1.0
                             3) คอนขางต่ํา              1.0-1.5

                             4) ปานกลาง                   1.5-2.5

                             5) คอนขางสูง               2.5-3.5
                             6) สูง                       3.5-4.5

                             7) สูงมาก                      > 4.5
                            ชั้นมาตรฐานปริมาณไนโตรเจน

                            ระดับ                   ปริมาณไนโตรเจน (%)

                             1) ต่ํามาก                    < 0.1
                             2) ต่ํา                      0.1-0.2

                             3) ปานกลาง                   0.2-0.5

                             4) สูง                       0.5-0.75
                             5) สูงมาก                     > 0.75

                             ชั้นมาตรฐานปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
                            ระดับ       ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน  (ppm)  (Bray No.2)

                             1) ต่ํามาก                     < 3

                             2) ต่ํา                        3-6
                             3) ต่ําปานกลาง                6-10

                             4) ปานกลาง                   10-15
                             5) คอนขางสูง               15-25

                             6) สูง                       25-45

                             7) สูงมาก                     > 45



                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50