Page 36 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          2-24




                        2.9.4 สารธรรมชาติออกฤทธิ์

                            ใบมะแวงเครือมีสาร Tomatid-5-en-3-ß-ol,  สวนดอกมะแวงเครือมีสาร Alkaloids,

                  Cellulose, Pectins Unidentified organic acid Lignins, Unidentified saponins, และผลมะแวง
                  เครือมีสาร Enzyme oxidase, Vitamin A คอนขางสูง

                            จากการทดสอบความเปนพิษตอเซลลมะเร็ง โดยทําการเปรียบเทียบสารสกัดจากมะแวง
                  เครือดวยคลอโรฟอรม ปโตรเลียมอีเทอร เอทิลอะซิเตทและเอทานอล พบวาสารที่สกัดดวยปโตรเลียม

                  อีเทอรมีความเปนพิษตอเซลล Leuk-L292 และ Vero  มากที่สุด และเมื่อทําการแยกสวนสกัดตอก็

                  พบวาสวนที่มีความเปนพิษตอเซลลมากที่สุดคือสวน Sobatum  โดยมีคา LD50 เมื่อทดสอบกับเซลล
                  Leuk-L292 และ Vero มีคาเทากับ 7 และ 7.5 ไมโครกรัมตอมิลลิกรัมตามลําดับ

                            เมื่อใหสาร Sobatum เขาทางชองทองในขนาด 100 200 และ 400 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม

                  พบวาสารดังกลาวไมมีฤทธิ์เหนี่ยวนํา micronucleus ของเซลลเม็ดเลือดแดงในไขกระดูก หรือทําใหเกิด
                  ความผิดปกติในโครโมโซม และเมื่อทําการทดสอบความเปนพิษกึ่งเฉียบพลันและแบบเฉียบพลันของ

                  สวนสกัดดังกลาว ก็ไมพบวากอใหเกิดอาการพิษ หรือความผิดปกติในเนื้อเยื่อ หรือทําใหหนูตาย

                            ฤทธิ์ตานการอักเสบ  การศึกษาฤทธิ์ตานการอักเสบของสารสกัดจากผลมะแวงเครือในหนู
                  ถีบจักร โดยสกัดผลมะแวงเครือดวยน้ํา เอทานอล และสกัดดวยเอทานอล ผสมกรดไฮโดรคลอริก

                  ในอัตราสวน 10:1  สารสกัดจากผลมะแวงเครือ  มีการปองกันและการรักษาอาการบวมของใบหูหนูถีบ
                  จักร ผลการทดลองนี้แสดงถึงฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสารสกัดจากผลมะแวงเครือ ซึ่งสนับสนุนการศึกษา

                  ทางคลินิกเพื่อนําไปใชในการรักษาอาการอักเสบตอไป
                            ฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย  การทดสอบพบวาสารสกัดออกฤทธิ์ดีในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียทั้ง

                  8  ชนิด   เมื่อเทียบกับยามาตรฐาน streptomycin  โดยฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียขึ้นกับความ

                  เขมขนของสารสกัด โดยสารสกัดที่ใหผลตานเชื้อแบคทีเรียดีที่สุด คือสารสกัดจากคลอโรฟอรม ความ
                  เขมขน 25 mg/ml  สามารถยับยั้งเชื้อ Bacillus subtilis และ Streptococccus pyrogens ไดดีที่สุด

                  (Doss, et al., 2008)

                            ฤทธิ์ลดระดับน้ําตาลในเลือด  การศึกษาฤทธิ์ลดระดับน้ําตาลในเลือดของสารสกัดน้ําจาก
                  ผลมะแวงเครือ ทําการทดลองในหนูแรทสายพันธุวิสตาร ที่ถูกเหนี่ยวนําใหเปนเบาหวานดวย

                  streptozotocin  (STZ)  แลวปอนสารสกัดน้ําจากผลมะแวงเครือ ในขนาด 100  และ 200  มก/กก.

                  พบวาสารสกัดสามารถเพิ่มการทํางานของ hepatic  hexokinase  (โดยเพิ่มการเกิด กระบวนการ
                  glycolysis  ทําใหมีการนํากลูโคสในเลือด มาใชเปนพลังงาน) โดยสรุปสารสกัดมะแวงเครือสามารถลด

                  ระดับน้ําตาลในเลือดได ทั้งยังชวยปกปองตับได (Kumar, et al., 2011)









                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41