Page 37 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          2-25




                  2.10 มะแวงตน

                        ชื่อวิทยาศาสตร     Solanum indicum L.
                        ชื่อวงษ        Solanaceae

                        ชื่อสามัญ       Brinjal

                        ชื่อทองถิ่น      แวงคม แวงกาม (สุราษฎรธานี สงขลา  ภาคใต)  มะแควง มะแควงขม
                  มะแควงคม มะแควงดํา (ภาคเหนือ) หมากแขง หมากแขงขม (ภาคอีสาน) มะแวง (ภาคกลาง)  สะกังแค

                  สะกั้งแค (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน)  หมากแฮงคง (เงี้ยว-แมฮองสอน)  เทียนเฉีย ชื่อเทียนเฉีย (จีนกลาง)
                  มะแวง มะแวงตน (ทั่วไป)


                        2.10.1  ลักษณะทั่วไป

                            ตนมะแวงตน จัดเปนไมพุมขนาดเล็ก มีอายุประมาณ 2-5 ป มีความสูงของตนประมาณ

                  1-1.5 เมตร ลําตนมีขนาดเล็กและกลม เนื้อแข็ง เปนสีเขียวอมเทา แตกกิ่งกาน ทั้งตนมีขนนุมสีเทา

                  ขึ้นปกคลุม และมีหนามแหลมขึ้นกระจายอยูทั่วตน สวนเปลือกตนเรียบเปนสีน้ําตาล ขยายพันธุดวย
                  วิธีการใชเมล็ด



























                  ภาพจาก : https://medthai.com


                            ใบมะแวงตน ใบเปนใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเปนรูปรี ปลายใบแหลมเล็กนอย
                  โคนใบมน สวนขอบใบหยักเวามนเขาหาเสนกลางใบและมีคลื่นเล็กนอย ใบมีขนาดกวางประมาณ 4-6

                  เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-10  เซนติเมตร หลังใบ ทองใบ และกานใบมีขนสั้นๆ ปกคลุม โดยทอง
                  ใบจะมีขนหนาแนนหลังใบ มีหนามสั้นๆ และมีกานใบยาว










                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42