Page 44 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           3-4






                                 3) ปานกลาง                    0.10-0.15

                                 4) สูง                        0.15-0.20

                                 5) สูงมาก                       > 0.20
                        ปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมาในแตละพื้นที่จะมีสวนหนึ่งซึมลงไปในดินสูเบื้องลาง เมื่อดินอิ่มตัวดวยน้ํา

                  แลวสวนที่เหลือจะไหลบาออกไปจากพื้นที่ ปริมาณน้ําฝนที่เหลืออยูในดินซึ่งพืชสามารถนําไปใชเปน

                  ประโยชนได เรียกวา Effective rainfall จากรายงานของ Kud Reservior Project ไดแสดงวิธีประเมินคา
                  Effective rainfall จากปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมาในแตละเดือนดังนี้

                             จํานวนน้ําฝนรายเดือน (มิลลิเมตร)         Effective rainfall (%)
                                < 10                                   0 %

                                10-100                               80 %

                                101-200                              70 %
                                201-250                              60 %

                                251-300                              55 %
                                >300                                 50 %

                        คาของ  Effective rainfall  ที่คํานวณไดในชวงฤดูปลูกพืชมีคาใกลเคียงกับปริมาณน้ําที่ตองการ

                  ในชวงการเจริญเติบโต (Water in growing period)
                           4) ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (Oxygen availability)

                             คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทนไดแก สภาพการระบายน้ําของดิน ทั้งนี้เพราะพืชสมุนไพร

                  โดยทั่วไป รากตองการออกชิเจนในขบวนการหายใจ ดังนั้นเมื่อพิจารณาถึงปจจัยของดินที่มีสภาพการ
                  ระบายน้ําดีจะมีการถายเทอากาศระหวางเหนือผิวดินกับภายในดินไดดี สวนในดินที่มีสภาพการระบาย

                  น้ําเลวทําใหการถายเทอากาศเปนไปไดนอย สงผลใหปริมาณออกซิเจนในดินที่ถูกรากดูดไปมีปริมาณ

                  ลดลง แตในขณะที่คารบอนไดออกไซดในดินที่ไดจากขบวนการหายใจเพิ่มขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบตอการ
                  เจริญเติบโตของราก และอาจตายไดในภาวะที่รากขาดออกซิเจนอยางรุนแรงและเปนเวลานาน


                             ชั้นมาตรฐานการระบายน้ําของดินสําหรับสมุนไพรแบงออกเปน 6 ชั้นดังนี้

                             1. Very Poorly Drained
                             2. Poorly Drained

                             3. Somewhat poorly Drained

                             4. Moderately Well Drained
                             5. Well Drained

                             6. Excessively Drained





                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49