Page 32 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          2-20




                  เสียด แนน  ดอกมะลิลา มีสรรพคุณ ที่ระบุในตํารายาไทย ใชบํารุงหัวใจ ดับพิษรอน ถอนพิษไข
                  ทําจิตใจใหชุมชื่น บํารุงครรภรักษา แกรอนใน กระหายน้ํา แกเจ็บตา เนื่องจากมีรสฝาดสมาน จึงชวย

                  สมานทอง แกบิด แกปวดทอง แกแผลเรื้อรัง ผิวหนังเปนผื่นคัน น้ําแชดอกสดบํารุงหัวใจใหชุมชื่น
                  นําดอกสดตําใสพิมเสน สุมหัวเด็กแกซาง แกตัวรอน แกหวัด ในตํารายาไทย มีการนําดอกมะลิ ผสมเขา

                  ในตํารับยาหอม ที่มีสรรพคุณบํารุงหัวใจ ทําจิตใจใหชุมชื่น แกลมวิงเวียน  ตัวอยางเชน ยาหอมเทพจิตร

                  ยาหอมนวโกฐ ยาหอมทิพโอสถ  และยาหอมอินทจักร
                            ทางสุคนธบําบัด น้ํามันหอมระเหยจากดอกมะลิ ใชในการกระตุนระบบประสาทสําหรับผูที่

                  มีภาวะออนลาทางจิตใจ งวง เฉื่อยชา ออนเพลีย ชวยปรับอารมณและสภาพสมดุลของจิตใจใหดีขึ้น

                  บรรเทาอาการปวดศีรษะในผูที่มีความเครียด ความกลัว บรรเทาอาการปวดกลามเนื้อ

                        2.8.4 สารธรรมชาติออกฤทธิ์

                            ดอก พบ benzyl alcohol, benzyl alcohol ester, jasmone, linalool, linalol ester

                            ใบ พบ  jasminin sambacin

                            ฤทธิ์ขยายหลอดเลือดโคโรนารี และกระตุนหัวใจ ผูที่มีภาวะออนลาทางจิตใจ งวง เฉื่อยชา
                  ออนเพลีย ดอกมะลิมีน้ํามันหอมระเหยจากดอกมะลิ

                            ฤทธิ์กระตุนประสาท จากการทดสอบกับหนูพบวา น้ํามันหอมระเหยจากดอกมะลิลา ชวย

                  ทําใหระยะเวลาการหลับของยา pentobarbital สั้นลง โดยการกระตุนประสาทสัมผัสกลิ่น
                            ฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus sanguinis ที่เปนสาเหตุใหเกิดฟนผุ พบวาสาร

                  สกัดเมทานอลจากดอกมะลิลาแหง มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อดังกลาว ดังนั้นสารสกัดจากดอกมะลิจึงมีผลตอ
                  สุขภาพในชองปาก

                            ฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Pseudomonas  aeruginosa  และเชื้อราAspergillus  niger
                  พบวาสาร caryophyllene oxide, benzyl benzoate, farnesyl acetate, methyl isoeugenol

                  จากดอกมะลิยับยั้งเชื้อดังกลาว

                            ฤทธิ์กระตุนความรูสึกทางเพศ จากการทดสอบตํารับยาที่มีน้ํามันหอมระเหยอยูในตํารับ
                  3-20 เปอรเซ็นต (โดยมีน้ํามันหอมระเหยจากมะลิ คิดเปน 50-90 เปอรเซ็นต) มีฤทธิ์กระตุนความ

                  รูสึกทางเพศ

                            ฤทธิ์ไลหมัด น้ํามันหอมระเหยจากดอกมะลิลา มีฤทธิ์ไลหมัดไดดีกวาสารเคมี
                  diethyltoluamide

                            ฤทธิ์สงบประสาท และทําใหนอนหลับ โดยคั้นน้ําจากรากสดมะลิลา 1-8 กรัม ตอน้ําหนัก

                  สัตว 1 กิโลกรัม เมื่อฉีดเขาชองทอง หนู กระตาย และสุนัข มีผลในการสงบประสาท ทําให
                  สัตวเคลื่อนไหวนอยลง และทําใหนอนหลับ






                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37