Page 27 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          2-15





                        2.6.2 สภาพแวดลอมที่เหมาะสม

                            เพชรสังฆาตสามารถขึ้นไดในทุกสภาพดิน ปลูกไดทั้งที่โลงแจงและมีความชื้นหรือรมรําไร

                  และมีการระบายน้ํา เพชรสังฆาตขึ้นไดในดินแทบทุกชนิด ชอบดินรวนซุยมีอินทรียวัตถุและไมมีน้ําขัง
                  ปลูกขึ้นงาย ทนแลง


                        2.6.3 ประโยชนและสรรพคุณ

                            เถา รสรอนขมคัน คั้นเอาน้ําดื่ม แกโรคลักปดลักเปด แกประจําเดือนไมปกติ แกกระดูก

                  แตกหักซน ขับลมในลําไส เถารับประทานวันละ 1 ขอ (6-9 เซนติเมตร) เปนเวลา 10-15 วัน ติดตอกัน
                  แกริดสีดวงทวารหนักทั้งชนิดภายในและภายนอก แตการรับประทานตองหั่นเถาบางๆ แลวหุมดวย

                  กลวยสุก หรือมะขามเปยก หรือใบผักกาดดอง แลวกลืนลงไป หามเคี้ยว เนื่องจากเถาสดมีผลึก
                  แคลเซียมออกซาเลตอยูมากทําใหคันคอและระคายตอเยื่อบุในปาก อาจรับประทานในรูปยาผงบรรจุ

                  แคปซูลทําใหสะดวกขึ้น หรืออาจนําเถามาดองเหลาเปนเวลา 7  วัน แลวรินเอาเฉพาะน้ําดื่ม ตํารายา

                  พื้นบานนครราชสีมาใช ตน แกริดสีดวงทวารโดยหั่นเปนแวน ตําผสมเกลือนําไปตาก ปนเปนลูกกลอน
                  กินครั้งละ 1 เม็ด 3 เวลา


                        2.6.4 สารธรรมชาติออกฤทธิ์

                            ลําตนมี แคลเซียมออกซาเลต (calcium  oxalate)  คาโรทีน (carotene)  วิตามินซี

                  (ascorbic acid) ไตรเทอรพีนส (triterpenes) และไฟโตสเตอรอล (phytosterol)
                            ผลตอแรงตึงตัวของหลอดเลือดดํา สารสกัดเพชรสังฆาตมีฤทธิ์กระตุนหลอดเลือดดํา ใหมี

                  ความตึงตัวเพิ่มขึ้น คลายกับสวนผสมของไบโอฟลาโวนอยด  2         ชนิด ไดแก ไดออสมิน

                  90  เปอรเซ็นต  และฮิสเพอริดิน 10  เปอรเซ็นต  ที่พบในตํารับยาแผนปจจุบัน สําหรับใชรักษา
                  ริดสีดวงทวาร

                            ฤทธิ์ตานการอักเสบเฉียบพลัน สารสกัดเมทานอลยับยั้งการบวมของใบหู และการบวมของ
                  อุงเทาของหนูขาว ที่ถูกกระตุนดวยสารเคมี สารสกัดเฮกเซนที่ความเขมขนรอยละ 1 และสารสกัดเอทา

                  นอลที่ความเขมขนรอยละ 5  ลดอาการบวมของใบหูหนูที่เหนี่ยวนําดวยสารเคมี ไดที่เวลา 30  นาที

                  ตรวจพบองคประกอบทางเคมีของสาร lupeol ในสารสกัดเฮกเซน
                            ฤทธิ์แกปวด  สารสกัดเมทานอลลดจํานวนครั้งที่หนูถีบจักรยืดบิดตัวจากอาการเจ็บปวด

                  ทอง เนื่องจากไดรับกรดอะซีติกที่ฉีดเขาทางชองทอง และลดระยะเวลาของการเลียเทาหลังทั้ง 2 ระยะ
                  ในการทดสอบดวยการฉีดฟอรมาลิน แสดวาออกฤทธิ์แกปวดผานทั้งระบบประสาทสวนกลาง และ

                  สวนปลาย










                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32