Page 33 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          2-21





                  2.9  มะแวงเครือ

                        ชื่อวิทยาศาสตร     Solanum trilobatum L.

                        ชื่อวงษ        Solanaceae

                        ชื่อสามัญ       Ma Waeng Khruea
                        ชื่อทองถิ่น    แขวงเคีย (ตาก) มะแวงเถา (กรุงเทพฯ) มะแวง มะแวงเถาเครือ (ทั่วไป)


                        2.9.1 ลักษณะทั่วไป

                            ตนมะแวงเครือ จัดเปนไมเถาขนาดเล็ก ลักษณะของลําตนกลมเปนเถามันสีเขียว ตามลํา

                  ตนมีหนามแหลม ขยายพันธุดวยวิธีการเพาะเมล็ดหรือจากสัตว (โดยเฉพาะนก) ที่กินผลแลวถายเมล็ด
                  ออกมา จัดเปนพรรณไมกลางแจงที่ตองการน้ําและความชื้นในปริมาณปานกลาง มักขึ้นเองตาม

                  ธรรมชาติในบริเวณที่ราบชายปา ที่โลงแจง และบริเวณที่รกรางริมทาง สามารถพบไดทั่วทุกภาคของ
                  ประเทศไทย






























                  ภาพจาก : https://medthai.com


                            ใบมะแวงเครือ ใบเปนใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเปนรูปไข ขอบใบเวา
                  ใบมีขนาดกวางประมาณ 4-5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5-8 เซนติเมตร หลังใบเรียบมัน สวนทองใบ

                  มีหนามตามเสนใบ















                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38