Page 24 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          2-12





                        2.5.2 สภาพแวดลอมที่เหมาะสม

                            พญายอเจริญเติบโตและใหผลผลิตไดดีในสภาพแวดลอมที่ อากาศรอนชื้น อุณหภูมิ

                  ประมาณ 25-30 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย 60-80 เปอรเซ็นต  ตองการแสงแดดตลอดวัน
                  สูงจากระดับน้ําทะเล 300-800 เมตร สภาพดินรวนปนทราย มีอินทรียวัตถุไมนอยกวา 3.5 เปอรเซ็นต

                  คาความเปนกรดดางของดิน (pH) 5-5.6 ระบายน้ําดี ไมทวมขัง ตองการน้ําสม่ําเสมอตลอดป และน้ําที่
                  ใชตองเปน น้ําสะอาดไมมีสารเคมีปนเปอน พญายอเจริญเติบโตไดไมดีในดินเหนียวและดินลูกรัง


                        2.5.3 ประโยชนและสรรพคุณ

                             สวนใบ รักษาอาการเนื่องจากแมลงกัดตอยและโรคเริม รักษาแผลไฟไหมน้ํารอนลวก

                  แมลงกัดตอย รักษาอาการอักเสบ งูสวัด33 ลมพิษ ผื่นคัน ใชรักษาแผลผิวหนังชนิดเริม และรักษาแผลรอน
                  ในในปาก ปรุงเปนยาขับปสสาวะ33 ขับประจําเดือน33 แกปวดเมื่อยบั้นเอว

                             ฤทธิ์ลดการอักเสบ สารสกัดใบพญาปลองทอง สามารถลดการอักเสบที่เทาหนูขาว ซึ่งทํา

                  ใหเกิดการอักเสบโดยฉีดสารคาราจีแนน (Carrageenan)  ไดดีโดยเฉพาะสวนที่สกัดดวย butanol
                  แตฤทธิ์ของสารสกัดนี้จะคอยๆ ลดลง และจะหมดฤทธิ์โดยสิ้นเชิงภายใน 1 ป

                             ฤทธิ์ตานเชื้อไวรัส 33 สารสกัดจากใบพญาปลองทอง มีฤทธิ์ทําลายไวรัสเฮอรปส ซิมเพลกซ

                  ไทป 2 (HSV-2) ซึ่งเปนสาเหตุการเกิดโรคเริมไมใหเขาเซลล และไมสามารถยับยั้งการแบงตัวในการเพิ่ม
                  จํานวนของไวรัสวาริเซลลา ซอสเตอร33 (Varicella Zoster Virus) โดยตรง


                           2.5.4 สารธรรมชาติออกฤทธิ์

                            สารฟลาโวนอยด มีฤทธิ์ลดการอักเสบ สารกลุม monoglycosyl  diglycerides เชน

                  1,2-O-dilinolenoyl-3-O-ß-d-glucopyranosyl-sn-glycerol และสารกลุม glycoglycerolipids
                  จากใบ มีฤทธิ์ยับยั้งไวรัสเริม

                             รากของพญายอ ประกอบดวยสาร Lupeol,  B-Sitosterol,  Stigmasterol  และมีการ
                  ทดลองพบวาสารสกัดดวยสารละลายบิวทานอล (butanol)  จากใบของพญาปลองทอง มีสารประกอบ

                  ฟลาโวนอยด (Flavonoid)  สามารถระงับอาการอักเสบได กรมวิทยาศาสตรการแพทย จึงไดมี

                  การผลิต ครีมพญายอ ขึ้นเพื่อนํามารักษาผูปวยโรคงูสวัดได ทําใหแผลตกสะเก็ดหายเร็ว ลดอาการปวด
                  ไดดี และไมพบผลขางเคียงใดๆ จากการใชครีมพญายอ จึงไมทําใหเกิดอาการแสบระคายเคือง มีการ

                  นํามาออกจําหนายในระดับอุตสาหกรรม















                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29