Page 82 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 82

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             66



                   ร้อยละ 81.58 แหล่งน้ าตื้นเขินมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 68.42 ในขณะที่การใช้ปุ๋ยหรือสารเคมีหรือยาฆ่า

                   แมลง มากขึ้นและมีรอยทรุดหรือรอยแยกมีสัดส่วนที่เท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 50.00
                          ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบของการชะล้างพังทลายของ

                   ดินต่อความเสียหายทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยดินที่ถูกชะล้างหรือกัดเซาะจะถูกพัดพา

                   ไหลไปตกตะกอนในแหล่งน้ า ท าให้แหล่งน้ าเกิดความตื้นเขิน ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนน้ าในฤดูแล้ง อีก
                   ทั้งสารเคมีและยาฆ่าแมลงที่ไหลไปปะปนกับตะกอนดินสู่พื้นที่ตอนล่าง ท าให้เกิดมลพิษสะสมในดินและ

                   น้ าส่งผลกระทบต่อคน สัตว์ และพืช
                          4.2) ผลกระทบต่อผลผลิต ในกรณีที่มีร่องน้ า/หน้าดินถูกพัดพาหรือทรุดตัวส่งผลกระทบต่อ

                   เกษตรกรในพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 83.78 โดยแบ่งระดับผลกระทบต่อผลผลิตออกเป็น 3 ระดับคือ (1) น้อย

                   (ลดลงไม่เกิน 20%) คิดเป็นร้อยละ 38.71 (2) ปานกลาง (ลดลง 20%-40%) คิดเป็นร้อยละ 35.48 และ
                   (3) มาก (มากกว่า 40%) คิดเป็นร้อยละ 25.81 ในขณะที่เกษตรกรบางกลุ่ม (ร้อยละ 16.22)

                          คิดว่าการชะล้างการพังทลายที่เกิดขึ้นไม่ส่งผลกระทบต่อผลผลิต
                          4.3) แนวทางป้องกันชะล้างการพังทลายของดิน จากสภาพปัญหาของการชะล้างการพังทลาย

                   ของดินในพื้นที่เพาะปลูกพืช และที่อยู่อาศัยของเกษตรกร จะเห็นได้ว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ ร้อยละ 56.76

                   มีแนวทางในการป้องกันการชะล้างการพังทลายของดิน โดยมีแนวทางการป้องกันคือ การก่ออิฐขวางทาง
                   น้ า ซึ่งเป็นวิธีการป้องกันที่เกษตรกรป้องกันมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 66.67 รองลงมาคือ การท าร่องน้ า

                   คิดเป็นร้อยละ 19.05 การปลูกหญ้าแฝก คิดเป็นร้อยละ 9.52 และการปลูกพืชคลุมดิน คิดเป็นร้อยละ

                   4.76 ตามล าดับ ในส่วนของเกษตรกรที่เหลือร้อยละ 43.24 ที่ไม่ได้ป้องกัน โดยให้เหตุผลของการไม่
                   ด าเนินการป้องกัน เนื่องจากไม่มีความรู้ร้อยละ 75 ของเกษตรกรที่ไม่ได้ด าเนินการป้องกันไม่มีเวลาร้อย

                   ละ 12.50 ไม่มีงบประมาณและไม่มีแรงงานร้อยละ 6.25 เท่ากัน นอกจากนี้ หากมีช่องทางในการป้องกัน
                   การชะล้างพังทลายของดิน โดยหน่วยงานของรัฐให้ความช่วยเหลือเกษตรส่วนใหญ่ร้อยละ 81.25 มีความ

                   ต้องการ

                   ตารางที่ 3-16  ความรู้ ความเข้าใจ ด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า พื้นที่ลุ่มน้ าคลองกุย อ าเภอกุยบุรีและ
                                อ าเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีการผลิต 2562

                                               รายการ                                     ร้อยละ

                    1) ลักษณะและสภาพปัญหาด้านการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ปลูกพืชที่อยู่อาศัย
                       (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

                       (1) หน้าดินมีร่อง/ร่องน้ าเล็ก ๆ                                       91.11
                       (2) น้ าไหลพัดพาหน้าดิน                                                81.58

                       (3) แหล่งน้ าตื้นเขินมากขึ้น                                           68.42

                       (4) มีการใช้ปุ๋ย/สารเคมี/ยาฆ่าแมลง มากขึ้น                             50.00
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87