Page 84 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 84

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             68



                   หญ้าแฝกขวางทางลาดชัน การงดการถางป่า ตัดไม้ตัดไม้ท าลายป่า การขุดถนน และการท าฝายน้ าล้น

                   หรือคันชะลอความเร็วของน้ า (ตารางที่ 3-17)
                   ตารางที่ 3-1 7   ความรู้ ความเข้าใจ การรักษาและป้องกันการชะล้างพังทลายของดินพื้นที่

                                  ลุ่มน้ าคลองกุย อ าเภอกุยบุรีและอ าเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

                                  ปีการผลิต 2562
                                                                             ร้อยละ            ล าดับความ
                                วิธีการรักษาและป้องกัน
                                                                     ใช่     ไม่ใช่   ไม่แน่ใจ   ต้องการ

                    1) ปลูกหญ้าแฝกขวางทางลาดชัน                     94.74      2.63      2.63           1
                    2) การถางป่า ตัดไม้ท าลายป่า การขุดถนน          86.84     13.16      0.00           2

                    ท าให้เกิดการชะล้าง พังทลายของดิน
                    3) ท าฝายน้ าล้นหรือคันชะลอความเร็วของน้ า      86.84      7.89      5.26           3

                    4) ใช้วัสดุต่าง ๆ อย่างง่ายก่อสร้างขวางทางระบายน้ า   81.58   13.16   5.26          4

                    เพื่อชะลอความเร็วของน้ าไม่ให้กัดเซาะ
                    5) ปลูกพืชคลุมดิน                               78.95     15.79      5.26           5

                    6) ปลูกพืชแบบขั้นบันได (ปรับพื้นที่เป็นขั้น ๆ)   71.05    21.05      7.89           6
                    7) ท าคันดินขวางทางลาดเท                        63.16     28.95      7.89           7

                    8) ยกร่องและปลูกพืช ท าร่องน้ าไปตามแนวระดับ    57.89     23.68     18.42           8

                    9) ปลูกพืชหมุนเวียน/ปลูกพืชแซม/ปลูกพืชเหลื่อมฤดู  50.00   42.11      5.26           9
                    10) ปลูกพืชสลับเป็นแถบ                          47.37     23.68     18.42          10

                    11) ใช้วัสดุต่าง ๆ คลุมดิน เช่น เศษซากพืช พลาสติก   34.21   52.63   13.16          11

                    กระดาษ เป็นต้น
                   ที่มา: ผู้วิจัย (2563)

                       เมื่อพิจารณาข้อมูลทัศนคติของเกษตรกรเกี่ยวกับประเด็นที่เชื่อมโยงกับสภาพปัญหาการชะล้าง

                   พังทลายของดิน 3 ด้าน (ตารางที่ 3-18) ดังนี้
                       1) การย้ายถิ่นฐาน จากประเด็นทัศนคติเกี่ยวกับ “กรณีหากเกิดเหตุการณ์ดินถล่มในพื้นที่เสี่ยงภัย

                   และภาครัฐต้องการให้เกษตรกรในพื้นที่อพยพออกจากพื้นที่โดยจะจัดหาสถานที่เหมาะสมให้” พบว่า
                   เกษตรกรส่วนใหญ่ ร้อยละ 52.63 มีความต้องการย้ายออกจากพื้นที่ ในขณะที่เกษตรกรร้อยละ 31.58 ไม่

                   มีความต้องการย้ายออกจากพื้นที่ และร้อยละ 15.79 ไม่แน่ใจ

                       2) ความช่วยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐในการจัดท าเขตระบบอนุรักษ์ดินและน้ า พบว่า เกษตรกร
                   ส่วนใหญ่ร้อยละ 94.74 เห็นด้วยที่ภาครัฐจะจัดท าเขตอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่ ในขณะที่ร้อยละ 5.26

                   ไม่เห็นด้วย
                       3) ปัญหาด้านการเกษตร พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เป็นเกษตรกรส่วนใหญ่ในพื้นที่ไม่มีปัญหาด้าน

                   การเกษตร คิดเป็นร้อยละ 57.89 ในขณะที่ร้อยละ 42.11 มีปัญหาทางด้านการเกษตร โดยประเด็นปัญหา
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89