Page 81 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 81

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          65



               ตารางที่ 3-15  ต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดของการปลูกพืชในพื้นที่ที่มี

                             ระดับการชะล้างการพังทลายของดินต่างกัน (ต่อ)
                          ระดับการชะล้าง ผลผลิต   ราคา    มูลค่าผลผลิต   ต้นทุน       ผลตอบ       B/C
                   พืช       พังทลาย   เฉลี่ย (กก./  ผลผลิต   (บาท/ไร่)  การผลิตทั้งหมด  แทนเหนือต้นทุน  Ratio
                             ของดิน*     ไร่)    (บาท/กก.)             (บาท/ไร่)   ทั้งหมด (บาท/ไร่)

                         รุนแรงมาก      469.80      16.11   7,568.48    5,772.41        1,796.07  1.31
                ยางพารา  น้อย           280.00      40.82   11,429.60   8,077.31        3,352.29  1.41
                (ยางแผ่น)  ปานกลาง      278.63      40.82   11,373.68   8,100.74        3,272.94  1.40

                         รุนแรง         282.52      40.83   11,535.29   8,124.53        3,410.76  1.42
                         รุนแรงมาก      275.53      40.82   11,247.13   8,158.42        3,088.71  1.38
                ไม้ผลผสม  น้อย          774.19       8.80    6,812.90   5,481.87        1,642.20  1.24
                (มะพร้าว)               (ลูก/ไร่)  (บาท/ลูก)

                มะม่วง   น้อย           737.50      40.10   29,573.75   18,245.22      11,328.53  1.62
                         ปานกลาง        735.45      40.11   29,498.90   18,450.32      11,048.58  1.60
                         รุนแรง         735.33      40.11   29,494.09   18,543.85      10,950.24  1.59

                ปาล์ม    น้อย          1,145.50      3.20    3,665.60   2,342.95        1,322.65  1.56
                น้ ามัน   ปานกลาง      1,134.82      3.20    3,631.43   2,343.58        1,287.85  1.55
                         รุนแรงมาก     1,095.54      3.20    3,505.73   2,269.29        1,236.44  1.55
               สับปะรด  ปานกลาง         6,058.82    5.58    33,794.12   29,157.72       4,636.40  1.16

                        รุนแรง          6,105.26    5.59    34,105.26   29,997.23       4,108.13  1.14
                        รุนแรงมาก       6,075.00    5.58    33,895.00   30,004.06       3,890.94  1.13
                        รุนแรงมากที่สุด   5,962.96   5.58   33,248.15   29,663.11       3,585.04  1.12

               ที่มา: ผู้วิจัย (2563)
               หมายเหตุ * ระดับการชะล้างพังทลายของดิน 5 ระดับ ซึ่งมีปริมาณการสูญเสียดิน คือ น้อย (อัตราการสูญเสียดิน 0-2

                             ตัน/ไร่)
                             ปานกลาง (อัตราการสูญเสียดิน 2-5 ตัน/ไร่) รุนแรง (อัตราการสูญเสียดิน 5-15 ตัน/ไร่) รุนแรงมาก
                             (อัตราการสูญเสียดิน 15-20 ตัน/ไร่) และรุนแรงมากที่สุด (อัตราการสูญเสียดินมากกว่า 20 ตัน/ไร่)

                    4) ความรู้ ความเข้าใจ ด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า
                       จากผลการสัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและ

               น้ าในพื้นที่ลุ่มน้ าคลองกุย อ าเภอกุยบุรี และอ าเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
                       โดยมุ่งเน้นข้อมูลเกี่ยวกับ 1) ความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของดิน 2) ผลกระทบที่

               เกิดขึ้นต่อผลผลิต 3) แนวทางการป้องกันและการแก้ปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และทัศนคติต่อ

               การป้องกันสภาพปัญหา (ตารางที่ 3-16)
                       4.1) ความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของดิน จากการสอบถามเกษตรในพื้นที่ในประเด็น

               ด้านความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของดิน พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ในพื้นที่ร้อยละ 91.11
               พบเจอและมีความเข้าใจปัญหาหน้าดินมีร่องหรือร่องน้ าเล็ก ๆ รองลงมาคือน้ าไหลพัดพาหน้าดิน คิดเป็น
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86