Page 78 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 78

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             62



                   เกษตรกรมีปริมาณผลผลิต 469.80 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ 16.11 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการ

                   ผลิตเท่ากับ 7,568.48 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 1,796.07 บาทต่อไร่ และอัตรา
                   ผลตอบแทนรายได้เหนือต้นทุนทั้งหมด (B/C ratio) เท่ากับ 1.31

                              ยางพารา (ยางแผ่น) พบว่า พื้นที่ดินที่มีการชะล้างระดับน้อย เกษตรกรมีปริมาณผลผลิต

                   280.00 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ 40.82 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิตเท่ากับ 8,077.31 บาท
                   ต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 3,352.29 บาทต่อไร่ และอัตราผลตอบแทนรายได้เหนือ

                   ต้นทุนทั้งหมด (B/C ratio) เท่ากับ 1.41 พื้นที่ดินที่มีการชะล้างระดับปานกลาง เกษตรกรมีปริมาณ
                   ผลผลิต 278.63 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ 40.82 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิตเท่ากับ

                   8,100.74 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 3,272.94 บาทต่อไร่ และอัตราผลตอบแทน

                   รายได้เหนือต้นทุนทั้งหมด (B/C ration) เท่ากับ 1.40 พื้นที่ดินที่มีการชะล้างระดับรุนแรง เกษตรกรมี
                   ปริมาณผลผลิต 282.52 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ 40.83 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิตเท่ากับ

                   8,124.53 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 3,410.76 บาทต่อไร่ และอัตราผลตอบแทน
                   รายได้เหนือต้นทุนทั้งหมด (B/C ratio) เท่ากับ 1.42 และพื้นที่ดินที่มีการชะล้างระดับรุนแรงมาก

                   เกษตรกรมีปริมาณผลผลิต 275.53 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ 40.82 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการ

                   ผลิตเท่ากับ 8,158.42 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 3,388.71 บาทต่อไร่ และอัตรา
                   ผลตอบแทนรายได้เหนือต้นทุนทั้งหมด (B/C ratio) เท่ากับ 1.38

                          จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่า กลุ่มตัวอย่างที่ปลูกยางพาราได้ผลผลิตที่ใกล้เคียงกัน แต่เมื่อ

                   พิจารณาตามระดับการชะล้างการพังทลายของดิน พบว่า ปริมาณผลผลิตมีทิศทางที่ลดลงตามระดับความ
                   รุนแรงของการชะล้างการพังทลายของดิน ในประเด็นด้านราคาผลผลิตมีราคาใกล้เคียงกัน กล่าวคือ ราคา

                   ยางก้อนเท่ากับ 16.11 บาทต่อกิโลกรัม และยางแผ่นเท่ากับ 40.82 บาทต่อกิโลกรัม ในด้านต้นทุนการ
                   ผลิตทั้งหมด พบว่า ในทุกระดับการสูญเสียดินมีต้นทุนการผลิตที่ใกล้เคียงกัน แต่เมื่อพิจารณาถึง

                   ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด พบว่า มูลค่าผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดมีมูลค่าลดลงตามระดับ

                   ความรุนแรงของการชะล้างการพังทลายของดิน
                          3.2 ไม้ผลผสม จากการสุ่มตัวอย่างเกษตรกรในพื้นที่ที่ปลูกไม้ผลผสมที่มีการชะล้างพังทลาย

                   ระดับความรุนแรงน้อย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เป็นเกษตรกรมีการปลูก มะพร้าว ทุเรียน ขนุน และกล้วย
                   แต่เมื่อท าการหาค่าเฉลี่ยของพื้นที่ในการเพาะปลูกเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ พบว่า ในแปลงการเพาะปลูก

                   เกษตรกรส่วนใหญ่มีการปลูกมะพร้าวในสัดส่วนของพื้นที่มากที่สุด ในขณะที่ทุเรียน ขนุน และกล้วย มี

                   สัดส่วนในแปลงการผลิตเพียงเล็กน้อย อีกทั้งยังมีการกระจายของข้อมูล ด้วยเหตุนี้ในการวิเคราะห์หา
                   ต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดของการปลูกไม้ผลผสมในครั้งนี้ จึงค านวณ

                   ต้นทุนของมะพร้าวในแปลงไม้ผลผสมเท่านั้น โดยพันธุ์มะพร้าวที่ใช้ปลูก คือ มะพร้าวน้ าหอม มีผลผลิต

                   เฉลี่ย 774.19 ลูกต่อไร่ ราคาผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 8.80 บาทต่อลูก ต้นทุนการผลิตเท่ากับ 5,481.87 บาท
                   ต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 1.642.20 บาทต่อไร่ และอัตราผลตอบแทนรายได้เหนือ

                   ต้นทุนทั้งหมด (B/C ration) เท่ากับ 1.24
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83