Page 86 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 86

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             70



                       1. ด้านทรัพยากรธรรมชาติ (ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)

                                จุดแข็ง (Strength)                        จุดอ่อน (Weakness)

                    - ลักษณะพื้นที่เป็นระบบลุ่มน้ า ท าให้สามารถ - พื้นที่การเกษตรบางส่วนมีการชะล้างการพังทลาย

                    บริหารจัดการเชิงพื้นที่ได้                ของดินระดับรุนแรงมาก
                    - ทรัพยากรดินทีศักยภาพในการท าการเกษตร    - มีตะกอนสะสมมากในแหล่งน้ า (สระน้ าสาธารณะ

                                                              อ่างเก็บน้ า เป็นต้น)

                               โอกาส (Opportunity)                          ปัญหา (Threat)
                    - เป็นนโยบายการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากร     - ข้อจ ากัดทางกฎหมาย เพราะพื้นที่การเพาะปลูก

                    ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับประเทศ         ของเกษตรกรกับพื้นที่เขตป่า
                    - มีทรัพยากรพื้นฐาน เช่น ฝ่ายชะลอน้ า (องค์กร

                    ส่วนท้องถิ่นจัดท า) อ่างเก็บน้ าในพื้นที่ของกรม

                    ชลประทาน (อ่างย่านซื่อและอ่างยางชุม) ที่
                    เหมาะสม ท าไปสู่การบูรณาการพัฒนาการต่อไป


                       2. ด้านเศรษฐกิจ

                                จุดแข็ง (Strength)                        จุดอ่อน (Weakness)

                    - มีตลาดรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่  - พื้นที่เกษตรส่วนใหญ่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน
                    เช่น พ่อค้าท้องถิ่น โรงงานแปรรูปผลผลิตทาง ท ากิน ท าให้ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนกู้ยืมใน

                    การเกษตร เป็นต้น                           ระบบ
                    - ชุมชนในพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น  - เกษตรกรในพื้นที่นิยมผลิตพืชเชิงเดี่ยวท าให้

                    สับปะรด ยางพารา ปาล์มน้ ามัน               เกษตรกรมีรายได้ค่อนข้างต่ า ตามกลไกราคา

                    - หน่วยงานภาครัฐ ไม่ว่าจะเป็น เกษตรอ าเภอ  ตลาด
                    องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือสถาบันการเงิน - พืชที่ปลูกส่วนหนึ่งได้รับผลกระทบจากภัย

                    ของรัฐ (ธกส.) ให้ความส าคัญในการช่วยเหลือ  ธรรมชาติ และ สัตว์ป่า

                    ตลอดจนพัฒนาอาชีพเกษตรกรในชุมขน
                               โอกาส (Opportunity)                          ปัญหา (Threat)

                    - นโยบายของรัฐมุ่งเน้นการแก้ไขภาคการเกษตร - ราคาผลผลิต ราคาสินค้าเกษตรไม่แน่นอนท าให้
                    เพื่อสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจ            เกษตรกรไม่สามารถวางแผนการผลิต ส่งผล

                    - แผนปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจให้ความส าคัญ  กระทบต่อรายได้

                    กับการพัฒนาฟื้นฟูทรัพยากรดินที่เป็นพื้นฐาน  - ความผันผวนจากราคาปัจจัยการผลิต ส่งผล
                    ส าคัญต่อการพัฒนาการผลิตภาคการเกษตร        กระทบต่อรายได้ และต้นทุนการผลิต โดยเฉพาะ

                                                               การปลูกพืชเกษตรเชิงเดียว
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91