Page 80 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 80

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             64



                   ผลผลิตมีราคาใกล้เคียงกัน โดยราคาผลผลิต 3.20 บาทต่อกิโลกรัม ด้านต้นทุนการผลิตทั้งหมด พบว่า เมื่อ

                   ระดับการสูญเสียดินมีความรุนแรงมากขึ้นส่งผลต้นทุนการผลิตมีราคาสูงขึ้น และมูลค่าผลตอบแทนเหนือ
                   ต้นทุนทั้งหมดมีมูลค่าลดลงตามระดับความรุนแรงของการชะล้างการพังทลายของดิน

                          3.5 สับปะรด จากการสุ่มตัวอย่างเกษตรกรในพื้นที่ที่ปลูกสับปะรดที่มีการชะล้างพังทลายของดิน

                   ใน 4 ระดับ คือ ปานกลาง รุนแรง รุนแรงมาก และรุนแรงมากที่สุด พบว่า กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรในพื้นที่
                   ทั้งหมดปลูกสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวีย โดยพื้นที่ดินที่มีการชะล้างระดับปานกลาง เกษตรกรมีปริมาณผลผลิต

                   6,058.82 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ 5.58 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิตเท่ากับ 29,157.72
                   บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 4,636.40 บาทต่อไร่ และอัตราผลตอบแทนรายได้

                   เหนือต้นทุนทั้งหมด (B/C ration) เท่ากับ 1.16 พื้นที่ดินที่มีการชะล้างระดับรุนแรง เกษตรกรมีปริมาณ

                   ผลผลิต 6,105.26 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ 5.59 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิตเท่ากับ
                   29,997.23 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 4,108.13 บาทต่อไร่ และอัตรา

                   ผลตอบแทนรายได้เหนือต้นทุนทั้งหมด (B/C ration) เท่ากับ 1.14 พื้นที่ดินที่มีการชะล้างระดับรุนแรง
                   มาก เกษตรกรมีปริมาณผลผลิต 6,075.00 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ 5.58 บาทต่อกิโลกรัม

                   ต้นทุนการผลิตเท่ากับ 30,004.06 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 3,890.94

                   บาทต่อไร่ และอัตราผลตอบแทนรายได้เหนือต้นทุนทั้งหมด (B/C ration) เท่ากับ 1.13 และพื้นที่ดินที่มี
                   การชะล้างระดับรุนแรงมากที่สุด เกษตรกรมีปริมาณผลผลิต 5,962.96 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ

                   5.58 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิตเท่ากับ 29,663.11 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด

                   เท่ากับ 3,585.04 บาทต่อไร่ และอัตราผลตอบแทนรายได้เหนือต้นทุนทั้งหมด (B/C ration) เท่ากับ 1.12
                          จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่า กลุ่มตัวอย่างที่ปลูกสับปะรดในทุกระดับมีปริมาณผลผลิตต่อไร่ที่

                   ใกล้เคียงกัน และราคาผลผลิตอยู่ที่ระดับราคาใกล้เคียงกัน เนื่องจากในพื้นที่การเพาะปลูกมีตลาดรับซื้อ
                   ผลผลิตที่แน่นอน (โรงงานแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร) ส่งผลให้ราคาของผลผลิตในพื้นที่ในทุกระดับ

                   ราคามีราคาที่เท่ากัน ในด้านต้นทุนการผลิตทั้งหมด พบว่า ในการสูญเสียดินระดับปานกลางถึงระดับ

                   รุนแรงมาก ต้นทุนการผลิตต่อไร่มีมูลค่าเพิ่มตามระดับความรุนของการชะล้างการพังทลาย ในขณะที่
                   ระดับความรุนแรงมากที่สุดต้นทุกการผลิตต่อไร่กลับมีมูลค่าลดลง แต่เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือ

                   ต้นทุนทั้งหมด พบว่า มูลค่าผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดมีมูลค่าลดลงตามระดับความรุนแรงของการ
                   ชะล้างการพังทลายของดิน

                   ตารางที่ 3-15  ต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดของการปลูกพืชในพื้นที่ที่มี

                                ระดับการชะล้างการพังทลายของดินต่างกัน
                              ระดับการชะล้าง ผลผลิต   ราคา    มูลค่าผลผลิต   ต้นทุน      ผลตอบ       B/C
                      พืช       พังทลาย   เฉลี่ย (กก./  ผลผลิต   (บาท/ไร่)  การผลิตทั้งหมด  แทนเหนือต้นทุน  Ratio

                                 ของดิน*     ไร่)   (บาท/กก.)              (บาท/ไร่)   ทั้งหมด (บาท/ไร่)
                   ยางพารา   น้อย          475.00    16.11     7,650.00   5,749.27      1,900.73     1.33
                   (ยางก้อน)  ปานกลาง      473.50    16.11     7,628.09   5,749.77      1,878.32     1.33

                             รุนแรง        472.10    16.11     7,605.53   5,765.43      1,840.10     1.32
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85