Page 77 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 77

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          61



               ตารางที่ 3-14  สภาวะเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ)

                                                              ต าบล
                  สภาวะเศรษฐกิจและสังคม                                                      ค่าเฉลี่ย
                                          หาดขาม      สามกระทาย      ไร่เก่า      ไร่ใหม่
                6) ลักษณะการถือครองที่ดิน
                   (ไร่)

                    (1) หนังสือส าคัญในที่ดิน   3,137      7,127          512         526      2,825.5
                     (โฉนดที่ดิน, นส.3,
                     น.ส.3ก ฯ)

                    (2) ไม่มีเอกสารสิทธิ์       596            -           57           -       163.25
                7) เครื่องมือการเกษตร         รถไถใหญ่    รถไถใหญ่      รถไถใหญ่   รถไถใหญ่
                                       เครื่องพ่นยา เครื่อง  เครื่องพ่นยา   เครื่องพ่นยา  เครื่องพ่นยา
                                                สูบน้ า   เครื่องสูบน้ า   เครื่องสูบน้ า  เครื่องสูบน้ า


                    3) พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ

                       จากการศึกษาสถานการณ์พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญในพื้นที่ลุ่มน้ าคลองกุย อ าเภอกุยบุรีและอ าเภอ
               สามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีการผลิต 2563 ได้แก่ ยางพารา ไม้ผลผสม มะม่วง ปาล์มน้ ามัน

               และสับปะรด โดยพิจารณาความรุนแรงออกเป็น 5 ระดับ คือ น้อย (อัตราการสูญเสียดิน 0-2 ตัน/ไร่)
               ปานกลาง (อัตราการสูญเสียดิน 2-5 ตัน/ไร่) รุนแรง (อัตราการสูญเสียดิน 5-15 ตัน/ไร่) รุนแรงมาก

               (อัตราการสูญเสียดิน 15-20 ตัน/ไร่) และรุนแรงมากที่สุด (อัตราการสูญเสียดิน 20 ตัน/ไร่)

               (ตารางที่ 3-15)
                       3.1 ยางพารา จากการสุ่มตัวอย่างเกษตรกรในพื้นที่ที่ปลูกยางพาราที่มีการชะล้างพังทลายของ

               ดินใน 4 ระดับ คือ น้อย ปานกลาง รุนแรง และรุนแรงมาก พบว่า กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรในพื้นที่ปลูก

               ยางพาราพันธุ์ RRIT251 และ RRIM600 ผลผลิตที่ได้จากยางพาราเป็นยางก้อนถ้วย และยางแผ่น ซึ่ง
               สามารถอธิบายต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด ได้ดังนี้

                          ยางพารา (ยางก้อน) พบว่า พื้นที่ดินที่มีการชะล้างระดับน้อย เกษตรกรมีปริมาณผลผลิต
               475.00 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ 16.11 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิตเท่ากับ 7,650.00 บาท

               ต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 1,900.73 บาทต่อไร่ และอัตราผลตอบแทนรายได้เหนือ

               ต้นทุนทั้งหมด (B/C ratio) เท่ากับ 1.33 พื้นที่ดินที่มีการชะล้างระดับปานกลาง เกษตรกรมีปริมาณ
               ผลผลิต 473.50 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ 16.11 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิตเท่ากับ

               7,628.09 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 1,878.32 บาทต่อไร่ และอัตราผลตอบแทน
               รายได้เหนือต้นทุนทั้งหมด (B/C ration) เท่ากับ 1.33 พื้นที่ดินที่มีการชะล้างระดับรุนแรง เกษตรกรมี

               ปริมาณผลผลิต 472.10 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาผลผลิตเท่ากับ 16.11 บาทต่อกิโลกรัม ต้นทุนการผลิตเท่ากับ

               7,605.53 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดเท่ากับ 1,840.10 บาทต่อไร่ และอัตราผลตอบแทน
               รายได้เหนือต้นทุนทั้งหมด (B/C ratio) เท่ากับ 1.32 และพื้นที่ดินที่มีการชะล้างระดับรุนแรงมาก
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82