Page 30 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                          14


                                    SWt = SW +∑       =1 (   −    −      −    −      )
                                                                          
                                                                     
                                                         
                                                               
                                                                                 
                           เมื่อ SWt  คือ ปริมาณน้ าในดินที่เป็นประโยชน์ (Available water capacity , มิลลิเมตร)
                               t     คือ ช่วงระยะเวลา i คือเวลา (วัน)
                               R     คือ ปริมาณน้ าฝน (มิลลิเมตร)

                               Q     คือ ปริมาณน้ าไหลบ่า (มิลลิเมตร)

                               ET  คือ ปริมาณการคายระเหย (มิลลิเมตร)
                               P     คือ ปริมาณน้ าที่ซึมลงไปในดิน (มิลลิเมตร)

                               QR  คือ ปริมาณน้ าที่ไหลลงแม่น้ า (มิลลิเมตร)

                    SWAT model ใช้ส าหรับการประเมินปริมาณน้ าท่า ปริมาณน้ าใต้ดิน ปริมาณตะกอนและปริมาณ

               สารเคมีที่ใช้ในการเกษตรภายในพื้นที่ลุ่มน้ าขนาดเล็ก ขนาดใหญ่และซับซ้อน แบบจ าลอง SWAT (Soil
               and Water Assessment Tool) พัฒนาโดย Arnold et al. (1998) โดยอาศัยข้อมูลเชิงกายภาพ ได้แก่

               ความสูงต่ าของพื้นที่ (DEM) การใช้ประโยชน์ที่ดิน สมบัติของดิน และภูมิอากาศ เพื่อการประเมินค่าดัชนีที่
               บ่งชี้ความสมบูรณ์ของลุ่มน้ า โดยแบ่งพื้นที่ลุ่มน้ าเป็นพื้นที่ลุ่มน้ าย่อยและภายในพื้นที่ลุ่มน้ าย่อย

               ถูกแบ่งเป็นหน่วยจัดการอุทกวิทยา (Hydrologic Response Units, HRUs) ซึ่งเป็นการซ้อนทับของ

               ชั้นข้อมูลเชิงกายภาพ ความสูงต่ าของพื้นที่การใช้ที่ดิน ดิน สภาพภูมิอากาศ และฝน




                         1) การรวบรวมและตรวจสอบเอกสารทั้งในรูปแบบของแผนที่ แผนที่เชิงเลขและรายงานที่

               เกี่ยวข้องกับจังหวัดสกลนคร เพื่อใช้ในการก าหนดแนวทางการด าเนินงาน

                         2) การเตรียมข้อมูลดาวเทียมและภาพถ่ายออร์โธสี
                            (1) ข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชตที่ใช้ในการปฏิบัติงานประกอบด้วยข้อมูลเชิงเลข (digital

               data) และข้อมูลเชิงภาพ (analog data) การเตรียมข้อมูลดาวเทียม มีขั้นตอนการด าเนินงานดังนี้
                               - การแก้ไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต (geometric correction) เนื่องจากข้อมูล

               ดาวเทียมที่ได้รับมายังมีความคลาดเคลื่อนเชิงต าแหน่งทางภูมิศาสตร์ จ าเป็นต้องด าเนินการแก้ไขต าแหน่ง
               ให้ถูกต้อง เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ซ้อนทับกับชั้นข้อมูลอื่นๆได้ โดยใช้ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลขของกรม

               พัฒนาที่ดิน และแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1 : 50,000 จากกรมแผนที่ทหารเป็นข้อมูลอ้างอิง

                               - การผลิตภาพจากข้อมูลดาวเทียมไทยโชต ภาพที่ใช้เป็นภาพผสมสีเท็จ (false color)
               สามช่วงคลื่น เพื่อให้ภาพชัดเจนและง่ายต่อการวิเคราะห์มากขึ้น ท าการผสมสีดังนี้ ช่วงคลื่นอินฟราเรด

               ใกล้ (Near Infrared–NIR) ให้ผ่านตัวกรองแสงสีแดง (red filter) เนื่องจากช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้เป็น

               ช่วงคลื่นที่พืชสีเขียวสะท้อนพลังงานมากที่สุด ดังนั้น บริเวณที่มีพืชใบเขียวอยู่ในภาพ จะมองเห็นเป็นสี
               แดงชัดเจน ส่วนช่วงคลื่นสีแดงให้ผ่านตัวกรองแสงสีเขียว (green filter) และช่วงคลื่นสีน้ าเงินให้ผ่านตัว

               กรองแสงสีน้ าเงิน (blue filter) หลังจากนั้น ท าการเน้นรายละเอียดของข้อมูลภาพด้วยข้อมูลภาพ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35