Page 35 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 35
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
19
ตารางที่ 2-1 ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน
ค่าการสูญเสียดิน
ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลาย
(ตัน/ไร่/ปี)
น้อย 0-2
ปานกลาง 2-5
รุนแรง 5-15
รุนแรงมาก 15-20
รุนแรงมากที่สุด มากกว่า 20
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2545)
ตารางที่ 2-2 ชั้นของการกัดกร่อน (degree of erosion classes)
การสูญเสียของชั้นดิน
สัญลักษณ์ ชื่อเรียก
(%)
E0 ไม่มีการกร่อน (non eroded) 0
E1 กร่อนเล็กน้อย (slightly eroded) 0 - <25
E2 กร่อนปานกลาง (medium eroded) 25 – 75
E3 กร่อนรุนแรง (severe erosion) > 75
E4 กร่อนรุนแรงมาก (very severe erosion) 100
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2551)
การจัดท าแผนการใช้ที่ดิน เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางภูมิสารสนเทศ (Geographic
Information System: GIS)เพื่อจัดท าแผนการใช้ที่ดินเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า โดย การประมวลผล
ข้อมูลทางกายภาพ ได้แก่ ประเภทการใช้ที่ดิน การประเมินคุณภาพดิน น้ า สภาพภูมิอากาศ สภาพ
เศรษฐกิจและสังคม ดังนี้
วิเคราะห์ประเภทการใช้ที่ดิน จากชนิดของพืช ลักษณะการด าเนินงาน และสภาพการผลิต
ในการใช้ที่ดินทั้งทางด้านกายภาพและสภาพเศรษฐกิจสังคม ซึ่งได้แก่ รูปแบบการผลิต การเขตกรรม การ
จัดการ เงินทุน และขนาดของกิจการ เป็นต้น โดยใช้ข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์เพื่อคัดเลือกประเภทการใช้
ที่ดินที่เหมาะสม (กรมพัฒนาที่ดิน, 2561) กับความต้องการการผลิตพืชของเกษตรกรในท้องถิ่นนั้น
การคัดเลือกประเภทการใช้ที่ดินมีวิธีการโดยวิเคราะห์ข้อมูลดินร่วมกับข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน
มาจัดท าหน่วยที่ดิน หลังจากนั้นถึงด าเนินการเก็บข้อมูลตามเนื้อที่สภาพการใช้ที่ดินที่มีมากที่สุดในลุ่มน้ า