Page 27 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 27
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
11
การรวบรวมข้อมูลเพื่อน าไปใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์เชื่อมโยงสู่การ
จัดท าแผนบริหารจัดการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
ประกอบด้วยข้อมูล แผนที่ เอกสารรายงาน และผลงานวิชาการหรือวิจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ทรัพยากรดิน
(มาตราส่วน 1: 25,000) ปี พ.ศ. 2561และข้อมูลลักษณะสมบัติดินบางประการ (กองส ารวจดินและวิจัย
ทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน) ทรัพยากรน้ า สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ปี พ.ศ. 2531 – 2561
(กรมอุตุนิยมวิทยา) สภาพการใช้ที่ดิน มาตราส่วน 1: 25,000 ปี พ.ศ. 2561ข้อมูลเศรษฐกิจและสังคม
และแผนการใช้ที่ดิน (กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน และกรมการพัฒนาชุมชน) ข้อมูล
พื้นที่เขตป่าไม้ถาวร ปี พ.ศ. 2561 (ส านักเทคโนโลยีการส ารวจและท าแผนที่กรมพัฒนาที่ดิน)ข้อมูลด้าน
การชะล้างพังทลายของดิน ระบบการอนุรักษ์ดินและน้ า ข้อมูลสภาวะเศรษฐกิจและสังคม ข้อมูลความ
จ าเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน กชช. 2ค ปี 2562 ของกรมการพัฒนาชุมชนตลอดจนรวบรวม
ข้อมูลอื่นๆ ทั้งในรูปแบบดิจิตอลและสิ่งพิมพ์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การส ารวจศึกษาข้อมูลภาคสนามเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ตลอดจน
ข้อมูลที่นอกเหนือจากที่มีอยู่ (ข้อ 2.1.1) และครอบคลุมประเด็นปัญหาของสภาพพื้นที่อย่างแท้จริง โดย
การส ารวจ การท าประชาพิจารณ์ และการสัมภาษณ์เกษตรกรในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยศาลจอด ทั้งนี้เพื่อ
วิเคราะห์ในการจัดท าแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
และวิเคราะห์การจัดล าดับความส าคัญของพื้นที่ด าเนินการ ได้แก่ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ า สภาพการ
ใช้ที่ดินการชะล้างพังทลายของดิน และข้อมูล สภาวะเศรษฐกิจและสังคม
การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิที่มีอยู่ และด าเนินการส ารวจศึกษา และตรวจสอบดินใน
ภาคสนามเพิ่มเติมในการจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรดินในพื้นที่ลุ่มน้้ำห้วยศำลจอด เพื่อสนับสนุนการประเมิน
การชะล้างพังทลายของดิน จัดท าแผนการใช้ที่ดิน และการก าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า และจัดท า
แผนบริหารจัดการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ลุ่มน้้ำห้วยศำลจอด มีขั้นตอนหลักใน
การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ ส ารวจศึกษาดินในภาคสนาม และวิเคราะห์สภาพปัญหาดินทาง
การเกษตร ดังนี้
1) ข้อมูลทรัพยากรดิน
การประเมินข้อมูลทรัพยากรดิน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนที่ดิน มาตราส่วน
1: 25,000 ที่มีอยู่ เพื่อเป็นกรอบการพิจารณาการส ารวจศึกษา เก็บข้อมูล และตรวจสอบดินในภาคสนาม
เพิ่มเติม โดยใช้ข้อมูลประกอบได้แก่ แผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข และแผนที่ภูมิประเทศเป็นแผนที่
พื้นฐานในการส ารวจ โดยมีขั้นตอนการด าเนินงาน ดังนี้